Page 66 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 66

61

                  ดินและน้ํา การจัดทําฐานขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัยและพื้นที่ประสบภัยพิบัติ ตางๆ และการจัดทําฐานขอมูลภูมิ

                  สารสนเทศอื่นๆที่เกี่ยวของ


                  8.9. ระบบชลประทาน

                          น้ํา เปนปจจัยการผลิตหลักที่สําคัญอยางยิ่งตอการผลิตสินคาเกษตรกรรมของไทย ดังนั้น การพัฒนา

                  แหลงน้ําและระบบชลประทานจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยสนับสนุนศักยภาพการผลิตและเพิ่มรายไดใหแก
                  เกษตรกร  สะทอน จากขอมูลสถิติที่พบวาครัวเรือนภาคการเกษตรในพื้นที่ชลประทานมีรายไดสูงกวา

                  ครัวเรือนที่อยูนอกเขตชลประทานถึงประมาณ 3 เทาตัว ทั้งนี้ ประเทศไทยมีการพัฒนาระบบชลประทานมา

                  ตลอดตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 เปนตนมา ซึ่งสวนใหญเปนการกอสรางอางเก็บ

                  น้ําขนาดใหญและขนาดกลาง  ตามความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศเพื่อเปนหลักประกันและลดความ
                  เสี่ยงจากการขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตรกรรม  รวมทั้งตอบสนองความตองการใชน้ําของภาคอุตสาหกรรม

                  พลังงาน  สาธารณูปโภค  และการคมนาคม อยางไรก็ดี  จากเปาหมายการพัฒนาประเทศสูการเปนประเทศ

                  อุตสาหกรรมใหม (Neo-Industrial Country: NIC) ทําใหการพัฒนาแหลงน้ําไมทันกับความตองการที่เพิ่มขึ้น
                  ทั้งในภาคเกษตรและอุตสาหกรรม จากการผลิตในภาคเกษตรที่มุงเนนการผลิตเชิงพาณิชยเพื่อตอบสนองการ

                  สงออกที่เพิ่มขึ้น  ประกอบกับการขยายพื้นที่เพาะปลูกจากราคาสินคาเกษตรที่จูงใจ  ในขณะที่การใชน้ํา

                  ชลประทานเพื่อการเกษตรยังขาดประสิทธิภาพเนื่องจากเปนงานบริการแบบใหเปลาจากรัฐ  นอกจากความ
                  ตองการใชน้ําในภาคอุตสาหกรรมยังเพิ่มขึ้นตามนโยบายการสงเสริมการลงทุนของรัฐและยุทธศาสตรของ

                  ประเทศอีกดวย

                          ประเทศไทยมีพื้นที่ทางการเกษตรทั้งหมด 130.3 ลานไร และอยูในเขตชลประทานทั้งสิ้น 28.7 ลาน
                  ไร (คิดเปนรอยละ 22.0 ของพื้นที่เกษตรทั้งหมด) สวนใหญกระจุกตัวอยูในภาคกลาง ซึ่งหากพิจารณาตาม

                  ความตองการใชน้ําของพืชเศรษฐกิจแตละชนิด พบวาขาวเปนพืชที่ตองการใชน้ํามากที่สุด คือฤดูกาลผลิตละ

                  1,101-1,172 ลูกบาศกมิลลิเมตรตอไร โดยเฉพาะในชวงที่ใชในการเตรียมแปลง ปกดํา และเพื่อหลอเลี้ยงลํา

                  ตน  ทั้งนี้  นอกจากขาวจะมีความตองการใชน้ําในแตละปมากกวาพืชอื่นๆแลว  ยังมีความออนไหวตอระดับ
                  ของปริมาณน้ําในชวงตางๆ อีกดวย (วิบูลย, 2526)



                   8.10. ระบบลุมน้ําและการระบายน้ํา

                          การวางระบบการพัฒนาที่ดินจะตองมีวิธีการพัฒนาและการจัดการที่ถูกตอง การจัดการและพัฒนาที่
                  ถูกตองนั้น ตอกระทําหรือปฏิบัติทุกบริเวณในพื้นที่ลุมน้ํา (Watershed area หรือ Catchment area) ไมใชทํา

                  การพัฒนาเปนจุดๆ หรือเปนเพียงบริเวณใดบริเวณหนึ่งในพื้นที่ลุมน้ํา การพัฒนาและจัดการทรัพยากรที่ดิน

                  จะตองพิจารณาพื้นที่ทั้งลุมน้ําเปนหลักเรียกวา “การจัดการพื้นที่ลุมน้ําทั้งหมด” (Total   catchment
                  management) โดยจัดการและบูรณะพื้นที่ที่เปนตอนบนของพื้นที่ลุมน้ํา (Head watershed หรือ Upstream

                  watershed) กอน แลวจึงไลลงมาตามลําดับ หลายประเทศไดทําและประสบความสําเร็จมาแลว เชน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71