Page 64 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 64

59

                  สอดคลองกับเปาหมายของรัฐบาลและปรับโครงสรางระบบการผลิตภาคการเกษตรซึ่ง  ไดพัฒนาเปน

                  โปรแกรมระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ
                                 การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจเพื่อการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ 12  ชนิด ที่สามารถแขงขัน

                  กับตางประเทศได ประกอบดวย ขาวนาป ขาวนาปรัง ออย ขาวโพด ถั่วเหลือง มันสําปะหลัง สับปะรด ปาลม

                  น้ํามัน  ยางพารา กาแฟ ทุเรียน และลําไย  ซึ่งจะเปนขอมูลเบื้องตนในการสนับสนุนการดําเนินงานของ
                  กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิตของเกษตรกรอยางยั่งยืนตอไป



                  8.6. การถือครองที่ดินการเกษตร

                          ในชวงระยะเวลา 20 ถึง 30 ปที่ผานมา ทุกประเทศทั่วโลกไดมีการเปลี่ยนการใชที่ดินจากพื้นที่ทํา

                  การเกษตรมาเปนพื้นที่ตัวเมือง (Urban area) พื้นที่อุตสาหกรรม และสถานที่พักผอน ทําใหพื้นที่ดินที่ใชทํา
                  การเกษตรชั้นดีเยี่ยม (Prime farmland) ของโลกลดลงอยางมากมาย ตัวอยางเชน ประเทศแคนาดา พื้นที่ทํา

                  การเกษตรเปลี่ยนมาเปนพื้นที่ตัวเมือง ซึ่งประมาณ 58 เปอรเซ็นตของพื้นที่จํานวนนี้เปนพื้นที่ที่ใชทํา

                  การเกษตรชั้นดีเยี่ยม สําหรับสหรัฐอเมริกา มีการสูญเสียพื้นที่ดินที่ใชทําการเกษตรชั้นดีเยี่ยมปละหนึ่งลาน
                  เอเคอร หรือเทากับสูญเสีย 320 เอเคอรทุกๆ ชั่วโมง สหรัฐอเมริกามีพื้นที่ที่ใชทําการเกษตรอยางดีเยี่ยม

                  ประมาณ 384 ลานเอเคอร แตปจจุบันไดนํามาใชเพาะปลูกเพียง 250 ลานเอเคอร สวนอีก 134 ลานเอเคอรยัง

                  ไมไดนํามาใชทําการเพาะปลูก สําหรับพื้นที่เพาะปลูกที่เปนดินอื่นๆ มีประมาณ 150 ลานเอเคอร
                       ประเทศตางๆ ทั่วโลกไดพยายามรักษาสงวนพื้นที่ดินที่ดีเยี่ยมนี้ไวทําการเกษตรดวยวิธีการตางๆ

                  ในสหรัฐอเมริกาการคุมครองพื้นที่เกษตรกรรม (Farmland protection) มีอยู 3 วิธีใหญๆ คือ (1) การให

                  สิ่งจูงใจ (Incentive programs) (2) ควบคุมการใชที่ดินโดยการบังคับการใชที่ดิน (Land use controls based on
                  involuntary programs) เชน กําหนดเปนเขตเกษตรกรรม (Agricultural zoning) และ(3) ไดแก การควบคุม

                  การใชที่ดินโดยวิธีอาสาสมัคร (Land use controls using volunteer programs) ซึ่งสามารถทําได 2 ลักษณะ

                  คือ การซื้อสิทธิ์ในการพัฒนา (Purchase of development right-PDR) และการยายสิทธิ์พัฒนา (Transfer of

                  development right- TDR)
                       สําหรับประเทศไทย ในปจจุบันจะเห็นวาที่ดินที่ใชทําการเกษตรแถบชานเมืองของตัวเมืองตางๆ

                  ซึ่งที่เหลานี้สามารถจัดเปนที่ดินชั้นดีเยี่ยมสําหรับทําการเกษตร (Prime farmland) ไดเปลี่ยนสภาพการใช

                  ที่ดินไปเปนบานจัดสรร ศูนยการคา และที่พักผอน ที่ดินที่ดีเยี่ยมสําหรับทําการเกษตรของประเทศไทยนั้น มี
                  อยูอยางจํากัด และเมื่อสูญเสียที่ดินชนิดนี้ไปแลวก็ไมสามารถจะหาที่ดินชนิดนี้ไดอีก พื้นที่เกษตรกรรมใน

                  เขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานครเปลี่ยนสภาพไปเพื่อทํากิจกรรมอื่นๆ เฉลี่ยปละ 18,000 ไร สภาพดังกลาว

                  นี้จะเกิดขึ้นในจังหวัดใหญๆ ทั่วประเทศ เชน เชียงใหม ขอนแกน อุบลราชธานี เปนตน ดังนั้น ผูบริหาร

                  ประเทศควรดําเนินการคุมครอบพื้นที่เกษตรชั้นดีเยี่ยมของประเทศใหคงอยูโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําได
                  มิฉะนั้นประเทศไทยจะไมมีพื้นที่ดินทําการเกษตรชั้นดีเยี่ยมเหลือไวใหลูกหลานไทย ซึ่งถือวาเปนความ

                  บกพรองของการบริหารทรัพยากรที่ดินของประเทศที่ไมควรจะเกิดขึ้น
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69