Page 65 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 65

60

                   8.7. แผนที่ดิน

                                 แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งที่มีอยูตามธรรมชาติและที่ปรุงแตงขึ้น โดยแสดงลง

                  ในพื้นแบนราบ  ดวยการยอใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและอาศัยเครื่องหมายกับสัญลักษณที่กําหนดขึ้น
                  องคประกอบของแผนที่ หมายถึงสิ่งตางๆ ที่ปรากฏอยูบนแผนแผนที่ ซึ่งผูผลิตแผนที่จัดแสดงไวโดยมีความ

                  มุงหมายที่จะใหผูใชแผนที่ไดทราบขอมูลและรายละเอียดอยางเพียงพอสําหรับการใชแผนที่นั้น เชน ชื่อของ

                  แผนที่ ระวางแผนที่ พิกัดทางภูมิศาสตร มาตราสวนของแผนที่ สัญลักษณ สีที่ใชในแผนที่ และทิศ เปนตน
                          แผนที่ดิน คือ แผนที่ที่แสดงถึงขอบเขตของชนิดดินในทางภูมิศาสตรของบริเวณใดบริเวณหนึ่ง

                  อาจจะไดจากการสํารวจจริงหรือจากการรวบรวมขอมูลทางดิน แผนที่ดินและรายงานสํารวจดิน จะใหขอมูล

                  ตางๆ ที่เกี่ยวกับสภาพแวดลอม (ปจจัยที่ใหกําเนิดดิน) และสมบัติดิน ซึ่งสามารถนําขอมูลไปใชไดคือ (เอิบ,

                  2533)
                                (1) ขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอมของบริเวณพื้นที่สํารวจที่มีความสัมพันธกับการใช

                  ประโยชนที่ดิน ไดแก ลักษณะของพื้นที่ทั่วๆ ไป ภูมิสัณฐาน สภาพทางธรณีวิทยาและชนิดของวัตถุตน

                  กําเนิดดิน สภาพทางอุทกวิทยา สภาพภูมิอากาศ ชนิดพืชพรรณและการใชประโยชนดิน เปนตนลักษณะและ
                  ชนิดของหินตางๆ ซึ่งเปนแหลงของวัตถุตนกําเนิด และสามารถพิจารณาในเบื้องตนไดจากแผนที่ธรณีวิทยา

                                (2) ขอมูลที่เกี่ยวกับดิน นับวามีความสําคัญตอผูใชประโยชนจากผลงานการสํารวจดินเปน

                  อยางยิ่งเพราะทําใหทราบถึงชนิด ลักษณะ และสมบัติของดินชนิดตางๆ ตลอดทั้งความอุดมสมบูรณและ
                  วิธีการที่จะบํารุงรักษา

                                (3) ขอมูลเกี่ยวกับผลวิเคราะหดิน นับวามีความสําคัญมากทั้งในดานการจําแนกดิน และการ

                  วินิจฉัยถึงความอุดมสมบูรณของดิน เนื่องจากสามารถทราบไดวาในดินชนิดนั้นๆ มีแรธาตุอาหารพืชอยูจํา

                  ปริมาณมากนอยเทาใด ซึ่งจะนําไปใชเปนหลักในการพิจารณาถึงชนิดและอัตราของปุยที่จะนําไปใชในการ
                  ปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดินใหสูงขึ้น เกี่ยวกับตัวเลขผลของการวิเคราะหดินนี้ผูใชรายงานสํารวจดิน

                  จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีความรูเกี่ยวกับการวินิจฉัยตัวเลขของผลการวิเคราะห จะตองทราบวาผลของการ

                  วิเคราะหที่ไดมานั้นอยูระดับไหนที่เรียกวาสูงต่ํา


                  8.8. แผนที่ออรโธสี

                          ภาพถายออรโธสีเชิงเลข มาตราสวน 1:4,000 และ 1:25,000 ซึ่งกรมพัฒนาที่ดินไดดําเนินการจัดทํา

                  จัดเก็บและใหบริการแกหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อใชเปนแผนที่ฐาน (Base  map) และ
                  นําไปใชจัดทําฐานขอมูลภูมิสารสนเทศใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ โดยไดทําการบินถายรูปทาง

                  อากาศสี มาตราสวน 1:25,000   ครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ ในป พ.ศ. 2545 – 2546 การใชประโยชนจาก

                  ภาพถายออรโธสีและขอมูลทางแผนที่ของโครงการ ในงานดานการพัฒนาที่ดิน ไดแก  การสํารวจและวาง
                  แผนการใชที่ดิน การสํารวจและทําแผนที่ดิน การทําสํามะโนที่ดิน  การสํารวจและจัดทําแผนที่จําแนก

                  ประเภทที่ดิน เขตที่เขา ภูเขา พื้นที่ความลาดชัน  การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตร  การจัดวางระบบอนุรักษ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70