Page 62 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 62

57

                  ทั้งตรวจสอบสภาพแวดลอมและสมบัติดินในสนามเพิ่มเติม สําหรับหนวยแผนที่ในแผนที่กลุมชุดดิน ขนาด

                  มาตราสวน 1:25,000 เปนประเภทของกลุมชุดดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553)


                  8.3. การจําแนกความเหมาะสมของดิน

                           การจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับพืชเศรษฐกิจ  เปนการจัดหมวดหมูของดินโดยอาศัย

                  ลักษณะและคุณสมบัติตางๆ ทางกายภาพ  และทางเคมีของดิน ตลอดจนสภาพแวดลอมของดินบางประการที่
                  มีผลตอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตอผลผลิตของพืช  ลักษณะและคุณสมบัติตางๆ  ของดินตลอดจน

                  สภาพแวดลอมของดินบางประการที่ไดจากการศึกษา  จําแนกดินในภาคสนาม  ตามหลักเกณฑการจําแนก

                  ดินระบบอนุกรมวิธานดิน  การจําแนกดินออกเปนหมวดหมูอยางมีระบบ ทําใหจดจําไดงายและยังสามารถ

                  นําเทคโนโลยีจากที่หนึ่งไปถายทอดสูอีกแหงหนึ่งไดอยางสะดวกรวดเร็ว ลดระยะเวลาและคาใชจายใน
                  การศึกษาไดมาก (กองสํารวจและจําแนกดิน, 2542)

                          การจําแนกความเหมาะของดินสําหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เปนการประเมินหรือแปลขอมูลดินให

                  เปนภาษางายๆ วา  พื้นที่แหงนั้นมีความเหมาะสมตอการเพาะปลูกมากนอยเพียงไร  มีขอจํากัดที่มีผลกระทบ
                  ตอการเจริญเติบโตหรือมีผลกระทบตอผลผลิตของพืชรุนแรงอยูในระดับใด        ทั้งนี้เพื่อจะไดใชเปน

                  แหลงขอมูลเบื้องตนในการแกไขปญหาและขอจํากัดเหลานั้น  ทําใหการแกไขปญหาและขอจํากัดนั้นๆได

                  ถูกตอง  ซึ่งชวยลดคาใชจายในการลงทุนและไดผลผลิตตอบแทนในอัตราที่คุมคาตอการลงทุน


                  8.4. การวางแผนการใชที่ดิน

                           การใชที่ดิน หมายถึง การนําที่ดินมาใชเพื่อตอบสนองตอความตองการของมนุษยในดานตางๆ เชน

                  เพื่อการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชกรรม และที่อยูอาศัย เปนตน จากประวัติศาสตรพบวาไดมีการวาง
                  แผนการใชที่ดิน โดยผูนําสูงสุดของเมืองหรือของประเทศอยูแลว แตอาจดวยวัตถุประสงคและความจําเปนที่

                  แตกตางกันกับในสมัยปจจุบันไปบาง โดยเฉพาะไมไดเกิดจากความจํากัดของทรัพยากรเปนขอพิจารณาหลัก

                  ในสมัยนั้น เหตุผลใหญมาจากการปองกันภัยจากขาศึกศัตรูและความจําเปนในการดําเนินชีวิตประจําวัน สิ่งที่

                  แสดงใหเห็นเปนตัวอยางไดแก การเลือกทําเลที่ตั้งทางยุทธศาสตรของเมืองตางๆ ยอนไปตั้งแตสมัยสุโขทัย
                  สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี รวมทั้งการกอตั้งกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งที่ตั้งเมืองหลวงจะอยูบริเวณที่ลุมริม

                  ฝงแมน้ํา ดวยเหตุผลความเหมาะสมดานแหลงน้ําเพื่อเลี้ยงประชาชน และเปนการใชพื้นที่เพื่อเตรียมเสบียง

                  อาหารเพื่อสูศึกในเวลาจําเปนอีกดวย นอกจากนี้ ยังมีการพิจารณาใชทําเลใกลลําน้ําเพื่อการสัญจรไปมาก มี
                  การวางระบบกําแพงเมือง ประตูเมือง ระบบคันคูกั้นน้ํา ที่เตรียมพรอมไวเปนปรากการปองกันการบุกรุกของ

                  ขาศึกศัตรู รวมทั้งสํารองน้ําไวใชในฤดูแลง อยางไรก็ตามหลักการและวิธีการตางๆ ไมไดปรากฏเปนลาย

                  ลักษณอักษรเหมือนกันในปจจุบัน (สมเจตน, 2524)
                           การวางแผนการใชที่ดิน จึงหมายความวา การวางนโยบายและแผนการใชที่ดินใหเหมาะสมกับ

                  สภาพของดิน  และสอดคลองกับประเภทของที่ดินที่ไดจําแนกไว
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67