Page 61 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 61

56

                                (4) เปนระบบการจําแนกดินที่สามารถนําผลของการจําแนกไปใชเปนสื่อในการแลกเปลี่ยน

                  เทคโนโลยีทางการเกษตรระดับประเทศหรือภูมิภาคไดดี  โดยเฉพาะการจําแนกดินในระดับวงศ
                                (5) เปนระบบที่มีวัตถุประสงคกวาง  สามารถวินิจฉัยคุณภาพของดินที่จําแนกไวไปใชใน

                  กิจการไดหลายอยาง

                                (6)  เปนระบบที่มีแนวโนมวาจะใชแพรหลายและกลายเปนระบบสากลตอไป
                                 อยางไรก็ตาม  ขั้นตอนของการจําแนกดินที่กรมพัฒนาที่ดิน  ไดใหความสําคัญไว  ไดแก   ขั้นตอน

                  การจําแนกดินขั้นต่ํา  (Low categories) คือระดับชุดดิน (Soil series) และระดับวงศ (Soil family)

                          ดังที่กลาวแลวระบบการจําแนกดินแบบอนุกรมวิธานดิน มีขั้นตอนการจําแนกพอเทียบไดกับ

                  อนุกรมวิธานพืช (Plant taxonomy) ดังนี้

                                อนุกรมวิธานดิน                              อนุกรมวิธานพืช
                                อันดับ  (Order)                             ไฟลัม (Phylum)

                                อันดับยอย  (Suborder)                      ชั้น (Class)

                                กลุมดิน  (Great Group)                     ชั้นยอย (Subclass)
                                กลุมดินยอย  (Subgroup)                    อันดับ (Order)

                                วงศ  (Family)                              วงศ    (Family)

                                ชุดดิน  (Series)                            ตระกูล (Genus)



                           กลาวโดยสรุปหลักเกณฑการสํารวจและจําแนกดินของประเทศไทย ประกอบดวย 9 อันดับ (Oder)

                  19 อันดับยอย (Suborder) 39 กลุมดิน (Great group) 60 กลุมยอย (Sub group) และกวา 300 ชุดดิน (Soil
                  series)

                         กลุมชุดดิน เปนการรวบรวมเอาชุดดินตางๆ ที่มีลักษณะและศักยภาพในการใชประโยชนที่

                  คลายคลึงกัน มารวมเขาดวยกันและเรียกหนวยแผนที่นั้นวา “กลุมดิน” ในเบื้องตน ฐานขอมูลที่นํามาใชเปน

                  หนวยแผนที่ดินในระดับ “ชุดดิน” ขนาดมาตราสวน 1:100,000 รวมกับการใชเทคนิคการรับรูขอมูล
                  ระยะไกล (Remote  sensing)   และการตรวจสอบสภาพแวดลอมและสมบัติดินในสนามเพิ่มเติม โดยได

                  ปรับปรุงระบบฐานขอมูลดินมาอยางตอเนื่อง พรอมทั้งไดจัดทําโปรแกรมระบบรียกใชสารสนเทศขอมูลดิน

                  (Soil view 1.0) เพื่อเผยแพรผลงานของกรมพัฒนาที่ดิน และในป พ.ศ. 2547 โดยสํานักสํารวจและวาง
                  แผนการใชที่ดิน ไดเริ่มดําเนินการผลิตแผนที่กลุมชุดดิน ขนาดมาตราสวน 1:25,000 ซึ่งเปนการปรับปรุง

                  ฐานขอมูลดินเดิม รวมกับการใชเทคนิคการรับรูขอมูลระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  (GIS)  และ

                  ขอมูลจากภาพแผนที่ภาพถายออรโธสีเชิงเลข ประกอบดวยขอมูลแบบจําลองระดับความสูงเชิงเลข  (DEM)

                  เสนชั้นความสูง (Contour) คาพิกัดทั้งทางราบและทางดิ่ง และภาพถายทางอากาศ ขอมูลทางธรณีวิทยา (จาก
                  แผนที่ธรณีวิทยา) และขอมูลปจจัยสภาพแวดลอมที่เปนปจจัยที่ใหกําเนิดดิน (Soil forming factors)  พรอม
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66