Page 70 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 70

65

                                 (3) อัตราสูงสุดของน้ําที่ไหลบา (Peak rate of runoff)

                                 (4) ชนิดของดิน (Soil types)
                                 (5) พืชที่จะปลูกคลุมบนทางน้ําไหล (Kind of vegetation)



                   8.18. การใชระบบการระบายน้ํา ในประเทศไทย

                       ในประเทศไทยนั้น การใชระบบการระบายน้ําตามหลักวิชาการจริงๆ ยังมีไมมาก อยางไรก็ตาม มี
                  เกษตรกรหลายแหงไดกอสรางทางน้ําไหลไวบริเวณรอบๆแปลง แตเนื่องจากวาทางน้ําไหลที่สรางนี้

                  ออกแบบไมถูกตองหรือขาดการดูแลรักษา จึงเปนผลทําใหเกิดน้ําทวมทางน้ําไหล (Overflow) และไหลผาน

                  แปลงเพาะปลูก จะทําใหเกิดการพังทลายเปนรองน้ํา (Rill) ขึ้นในแปลงปลูกพืช เชน มันสําปะหลัง ขาวโพด
                  สับปะรด ออย ถั่วเหลืองและฝาย ซึ่งปรากฏอยูบอยๆ และในบางกรณีรองน้ําที่เกิดขึ้นกลายเปนรองน้ําขนาด

                  ใหญ (Gully) ทําใหเกิดการเสียหายพื้นที่เพาะปลูก การสรางทางน้ําไหลนี้เปนสิ่งจําเปนที่ตองสรางขึ้นในทุก

                  พื้นที่เพื่อจะไดระบายน้ําออกไปสูที่ๆปลอดภัย แตวาการกอสรางควรไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานของ

                  รัฐบาลในการออกแบบกอสรางและวิธีการกอสราง สวนเกษตรกรมีหนาที่ดูแลรักษาทางน้ําไหลใหมี
                  ประสิทธิภาพอยูเสมอ ตามปกติแลวการทําทางน้ําไหลมักนิยมปฏิบัติรวมกับมาตรการการอนุรักษดินอื่นๆ

                  เชน Storm water drain การทําขั้นบันได การปลูกพืชตามแนวระดับ (Contour farming) การคลุมดิน หรือการ

                  ปลูกพืชเปนแถบสลับ สิ่งที่ควรจดจําไวเสมอก็คือวา ระบบการระบายน้ําที่ดี ตองทําใหเสร็จและพรอมที่จะ
                  ใชไดกอนการกอสรางอื่นๆ เพราะวาหากสรางทางน้ําไหลภายหลังการกอสรางอื่นๆจะกอใหเกิดปญหาตางๆ

                  ขึ้นมากมาย
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75