Page 71 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 71

66


                                   9. องคความรูเพื่อการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน


                   9.1. การประเมินน้ําไหลบา

                          9.1.1. น้ําไหลบา (Run off water) เปนสวนหนึ่งของปริมาณน้ําฝน มีความสําคัญ เพราะเปนแหลงที่

                  มาของน้ําที่นําไปใชในกิจกรรมตาง ๆ เชน การบริโภค การอุตสาหกรรม การคมนาคม การเกษตร ตลอดจน
                  การพักผอนหยอนใจ ดังนั้นการสรางสิ่งกอสรางตางๆ ในการควบคุมน้ําบนผิวดินจึงมีความจําเปนที่จะตอง

                  ศึกษาธรรมชาติของน้ําที่ไหลบาดวย น้ําไหลบา แบงออกไดเปน 3 ชนิด ดังนี้

                             (1)  น้ําที่ไหลบาบนผิวดิน (Surface runoff) หมายถึง สวนหนึ่งของน้ําฝนหรือหิมะที่ละลายแลว

                  ไมสามารถซึมผานผิวดินลงไป จึงเหลืออยูบนผิวดินและไหลลงสูที่ต่ํา บางสวนของน้ําที่ไหลผานไปบนผิว
                  ดินไปยังรองน้ํา เรียกวา Over land flow น้ําที่ไหลไปบนผิวดินและไหลไปยังแมน้ํารวมกับสวนของน้ําที่ไหล

                  บาชนิดอื่นๆ เปนน้ําไหลบาทั้งหมด Total runoff น้ําที่ไหลทั้งหมดในรองน้ํา เรียกวา Stream flow

                             (2)  Subsurface runoff, Subsurface flow, Inter flow, Subsurface storm flow  หรือ Storm
                  seepage  ไดแก น้ําที่ไหลบาชนิดหนึ่งซึ่งซึมผานผิวดินลงไปและไหลขนานไปกับผิวดิน แตอยูใตผิวดินลงสู

                  รองน้ํา บางสวนของน้ําชนิดนี้จะไหลลงสูลําธารหรือแมน้ํา ภายหลังฝนตก และบางสวนจะไหลลงสูแมน้ําลํา

                  ธาร
                             (3)  Ground water flow หรือ Ground water runoff ไดแก สวนหนึ่งของน้ําที่ไหลซึมผานผิวดิน

                  แลวไหลลงสูสวนลึกของดินกลายเปนน้ําบาดาลและไหลลงสูแมน้ําลําธารในที่สุด


                           ธรรมชาติของน้ําที่ไหลบา มีผลกระทบตอการชะลางพังทลายของดิน ในลักษณะตางๆ ดังตอไปนี้

                             (1) ปริมาณของน้ําไหลบา สําหรับประเทศไทยเริ่มตั้งแตเดือนเมษายนถึงเดือนมีนาคมปถัดไป มี

                  ผูคํานวณวามีปริมาณของน้ําปละ 200,00 ลานลูกบาศกเมตร ตัวอยางของ ปริมาณน้ําในแมน้ําที่สําคัญบางสาย

                  ของประเทศไทยไดแสดงไวในตารางที่  5
                             (2) อัตราของน้ําที่ไหลบา เปนตัวการสําคัญที่ทําใหเกิดการพังทลายไดมากที่สุด จึงจําเปนตอง

                  ทราบอัตราสูงสุดของน้ําที่ไหลบา การทําการระบายน้ําขั้นบันได สิ่งกอสรางที่ควบคุม การพังทลายของดิน

                  จะตองออกแบบโดยยึดถืออัตราสูงสุดของน้ําที่ไหลบาเปนหลัก อัตราและปริมาณของน้ําไหลบามีมากหรือ

                  นอยขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยางดวยกัน เชน
                                (2.1) ความรุนแรง ปริมาณ และทิศทางของฝนที่ตกมา

                                (2.2) ลักษณะความลาดเทและการเก็บกักน้ําบนพื้นผิวของพื้นที่

                                (2.3) ลักษณะและคุณสมบัติของดิน ซึ่งมีผลตออัตราการซึมซับน้ํา
                                (2.4) ชนิดและปริมาณของพืชพรรณที่ปกคลุมผิวพื้นดิน

                                (2.5) ขนาดของลุมน้ําหรือพื้นที่รับน้ํา
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76