Page 68 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 68

63

                                (2.2) ลําน้ําสาขาที่ไหลสูลําน้ําสาขาหลัก และมีขนาดพื้นที่ตั้งแต 500 ตารางกิโลเมตรขึ้นไป

                  ไดกําหนดใหแบงเปนลุมน้ําสาขา    โดยใหชื่อสุดทายลําน้ําที่ไหลลงมาบรรจบกับลําน้ําสายหลักเปนชื่อของ
                  ลุมน้ําสาขา แตถาลุมน้ําสาขานั้นมีขนาดใหญกวา 3000 ตารางกิโลเมตร จะแบงออกเปน 2 สวน โดยเรียกชื่อ

                  ที่เปนสวนตนวาเปนตอนบน  (Upper part) และสวนปลายวาตอนลาง (Lower part) หรือแบงตามชื่อลําน้ําที่

                  ไหลลงสูลําน้ําสาขา หากมีพื้นที่ตั้งแต 500 ตารางกิเมตรขึ้นไป
                                (2.3) สําหรับลําน้ําสายหลักๆ ที่มีขนาดพื้นที่นอยกวา 500 ตารางกิโลเมตร และไหลลงสู

                  แมน้ําสายหลักโดยตรง ซึ่งไมสะดวกที่จะกําหนดใหเปนลุมน้ําสาขาของแตละลําน้ํานั้นได จึงรวบรวมพื้นที่

                  ใกลๆ กัน เขาดวยกันใหมีพื้นที่รับน้ําประมาณ 500-3000 ตารางกิโลเตเมตร กําหนดขึ้นเปนลุมน้ําสาขาลุมน้ํา

                                                                                                      rd
                                                                                       nd
                  หลักนั้นๆ โดยกําหนดเรียกชื่อเปนลุมน้ําตอนบน  (Upper  part) ลุมน้ําสวนที่ 2 (2  part) ลุมที่ 3 (3  part)
                  และลุมน้ําตอนกลาง (lower part) เรียงลําดับจากตนน้ํามาทางทายน้ําหรือจากทิศเหนือลงมาทิศใต ในกรณีที่มี
                  มากกวา 4 พื้นที่ขึ้นไป ในกรณีที่ 3 พื้นที่ จะกําหนดเรียกเปนตอนบน (Upper part) ตอนกลาง (Middle part)

                  และตอนลาง   (Lower part) ในกรณีที่ 2 พื้นที่ จะกําหนดเรียกชื่อเปนตอนบน และตอนลาง


                  8.13. หลักเกณฑในการหาพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                           การหาพื้นที่ลุมน้ําทําโดยเริ่มหาแนวสันปนน้ําของแผนที่ มาตราสาวน 1:50,000 แบงเปนลุมน้ํา

                  หลัก และลุมน้ําสาขา แลวหาพื้นที่ลุมน้ําสาขาดวย Plain meter  เพื่อใชคํานวณหาพื้นที่ตอไป


                  8.14. ระบบการระบายน้ํา (Waterway system)

                        ระบบการระบายน้ํา  เปนสิ่งที่จําเปนในการวางระบบการพัฒนาที่ดิน ซึ่งทางน้ําไหลและทาง
                  ระบายน้ําอาจเปนสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติในสภาพไรนา หรือเปนสิ่งกอสรางที่ทําขึ้นเพื่อเปนการระบายน้ํา

                  ที่ไหลบนดินในไรนาหรือจากคูเบนน้ําหรือจากการทําขั้นบันได ไปสูที่ปลอดภัยโดยไมเกิดการพังทลายของ

                  ดิน  อนึ่ง การวางระบบการระบายน้ําเปนที่นิยมปฏิบัติกันมากสําหรับเกษตรกรในตางประเทศ เชน

                  สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมัน ออสเตรเลีย เพราะวาเมื่อมีฝนตกลงมาและมีความหนาแนนหรือความหนัก
                  เบาของฝน (Rainfall intensity) เกินอัตราการซึมน้ําของดิน ก็จะเกิดน้ําไหลบาไปตามผิวดิน และความสําเร็จ

                  ในการวางแผนการจัดการน้ําทั่วๆไปนั้น จะขึ้นอยูกับการระบายน้ําที่ไหลบาบนผิวดินนี้ออกไปสูที่ๆ

                  ปลอดภัย โดยไมทําใหเกิดการพังทลายของดินนั้นและทวมขัง ดังนั้น พื้นที่สวนหนึ่งของไรนาจะตองใชเปน
                  ที่ทําทางน้ําไหล และมักจะใชทางน้ําไหลเปนสถานที่ปลูกพืชอาหารสัตวหรือเอาไวทําเปนหญาแหงสําหรับ

                  สัตวเลี้ยง หรือจะใชเปนที่สําหรับผลิตเมล็ดหญาหรือเมล็ดถั่วที่จะใชภายในไรนาของเกษตรกรหรือผลิตเพื่อ

                  การคาก็ได ความสามารถในการวางระบบการระบายน้ําจะขึ้นอยูกับรูปรางและขนาดของทางน้ําไหลที่

                  ถูกตองและเหมาะสม การเตรียมพื้นที่ทําทางน้ําไหลมีความสําคัญมาก ทางน้ําไหลเปนสถานที่ซึ่งมีน้ําไหลอยู
                  เสมอและไหลอยูเปนระยะเวลายาวนาน (Constant and prolong flows) ซึ่งจําเปนตองมีวิธีการอื่นๆ ชวย เชน

                  การสรางทางลาด (Grade control structures) และการกอสรางสิ่งปองกันผิวของรองน้ําบางสวน (Stone
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73