Page 67 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 67

62

                  ออสเตรเลีย สาธารณรัฐประชาชนจีน โคลัมเบีย และ เปอโตริโก  เปนตน ถาผูบริหารประเทศยังคงปลอย

                  ปละละเลยใหการจัดทรัพยากรที่ดินของประเทศไทยเปนไปในลักษณะของการขาดการวางแผนที่ดินอยาง
                  เพียงพอ อาจจะตองประสบอุทกภัยและการสูญเสียอยางหลีกเลี่ยงไมได



                   8.11. ระบบลุมน้ํา

                                สําหรับความหมายของลุมน้ําหมายถึง หนวยของพื้นที่หนึ่งที่เกี่ยวของกับการบริหารและจัดการน้ํา
                  โดยเฉพาะ มีขนาดความตองการของแตละบุคคล และประเภทของการศึกษา จากคําจํากัดความดังกลาวนี้  จะ

                  เห็นไดวาขอบเขตของลุมน้ํานั้น จะกําหนดที่ใดก็ไดโดยไมจําเปนตองมีสันเขาเปนสันปนน้ํา แตมีขอสังเกต

                  วาตองมีแนวโนมที่จะทําใหทราบวา น้ําในลุมน้ําที่ระบายออกจากปากลุมน้ํานั้นมีเทาไร มีฝนตกหรือน้ําไหล

                  เขาสูลุมน้ําเปนจํานวนเทาใด   คําจํากัดความจึงนาที่จะยึดถือไดวามีมาตรฐานที่ดีได  โดยเฉพาะบริเวณที่มี
                  ขอบเขตพื้นที่จํากัด และยังสามารถใชกับพื้นที่เกษตรกรรมตอนลาง ซึ่งมีการถือครองที่ดินหลายเจาของ หรือ

                  มีความหลากหลายของกษณะภูมิประเทศหรือไม ก็มีความจําเปนบางประการที่ตองกําหนดใหเปนไปตาม

                  วัตถุประสงคที่จะใชขนาดพื้นที่


                  8.12. หลักเกณฑในการกําหนดขอบเขตพื้นที่ลุมน้ําหลักและลุมน้ําสาขา

                           คณะอนุกรรมการศูนยขอมูลสารสนเทศอุทกวิทยา  (น้ําผิวดิน)  ไดดําเนินการกําหนดขอบเขตของ
                  ลุมน้ําหลัก 25 ลุมน้ํา และลุมน้ําสาขาลงในแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1: 500,000 โดยไดมีการตรวจสอบ

                  รายละเอียดและความถูกตองกับแผนที่ 1:50,000  และ 1:250,000  การกําหนดเขตดังกลาวที่มีกฎเกณฑการ

                  แบงเขตลุมน้ํา (Basin) และลุมสาขา   (Sub-basin) และการเรียกชื่อลุมน้ําไวดังนี้ (นิพนธ, 2539)

                                (1) การแบงลุมน้ําสายหลักไดยึดถือเอาแมน้ําสายใหญเปนหลักในการกําหนดขอบเขตแล
                  การเรียกชื่อของลุมน้ํา  นอกจากบางพื้นที่ เชน บริเวณใกลเขตชายแดนติดตอกับประเทศกัมพูชา ซึ่งไมมี

                  แมน้ําสายใหญที่สามารถใชเปนตัวแทนของลุมน้ําที่จัดแบงไดจึงไดกําหนดขอบเขตแลเรียกชื่อลุมน้ํานั้นๆ

                  ตามลักษณะตามพื้นที่ชายฝง เชน ลุมแมน้ําฝงทะเลตะวันออก  ชายฝงทะเลตะวันตก โดยยึดถืออาวไทยเปน

                  หลักในการกําหนดชื่อ เชน  บริเวณภาคใตของประเทศไทย  แบงออกเปน (1) ลุมน้ําภาคใตฝงตะวันออก (2)
                  ลุมน้ําภาคใตฝงตะวันตก ซึ่งถือตามทิศทางการไหลลงสูทะเลในบริเวณพื้นที่นั้นๆ เปนหลัก  สวนบริเวณที่

                  ติดกับประเทศกัมพูชาใชชื่อวา  ลุมน้ําโตนเลสาป  ตามชื่อของทะเลสาบที่น้ําในลุมน้ําบริเวณดังกลาวไหลลง

                                     (2) การแบงเขตลุมน้ําสาขา (Sub-basin  separation) คณะกรรมการศูนยขอมูลสารสนเทศ
                  อุทกวิทยา  (น้ําผิวดิน) ไดกําหนอหลักเกณฑการแบงลุมน้ําสาขาของ 25 ลุมน้ําหลัก ไวดังนี้

                                (2.1) กําหนดใหแมน้ําสายหลัก  (Main river) เปนลุมน้ําสาขาหนึ่งทีมีรหัสเปน 01 และเรียก

                  ลุมน้ําสาขานี้เชนเดียวกับชื่อลําน้ําสายหลัก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการบริการขอมูลเฉพาะของแมน้ําสาย
                  หลัก
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72