Page 60 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 60

55

                                    8. องคความรูเพื่อการวางแผนและจัดระบบการพัฒนาที่ดิน



                   8.1. ระบบขอมูลดิน

                          ระบบขอมูลดิน  มีประโยชนตอการสนับสนุนงานวางระบบการพัฒนาที่ดินและพัฒนาการเกษตร
                  และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากตองอาศัยระบบขอมูลดินเปนพื้นฐาน อีกทั้งยังเปนประโยชนตอ

                  การศึกษาและพัฒนาดานพัฒนาที่ดินและสาขาอื่นที่เกี่ยวของ ระบบขอมูลดินมีวิธีการตางๆ ดังนี้



                  8.2. การสํารวจและการจําแนกดิน

                          8.2.1. การสํารวจดิน คือ การศึกษาหาขอมูล หรือขอสนเทศทางดานวิทยาศาสตรของดิน ในบริเวณ
                  พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เพื่อทราบถึงสภาพ ลักษณะของดิน และจําแนก ตลอดจนตรวจหาขอบเขตของดิน ทําแผน

                  ที่แสดงการแพรกระจายของดิน แปลความหมายเพื่อจุดประสงคอันเปนประโยชนที่ตองการ และทํารายงาน

                  การสํารวจดิน
                           8.2.2. การจําแนกดิน หมายถึงการรวบรวมดินชนิดตางๆ ที่มีลักษณะหรือคุณสมบัติที่คลายคลึงกัน

                  ตามที่กําหนดไว  ใหเปนหมวดหมูอยางเปนระเบียบ  เพื่อสะดวกในการจดจําและนําไปใชงานในการพัฒนา

                  ที่ดิน
                          ระบบการจําแนกดิน ที่กรมพัฒนาที่ดินใชอยูในปจจุบัน เปนระบบการจําแนกดินที่เรียกวา

                  อนุกรมวิธานดิน  (Soil  Taxonomy)  ซึ่งไดมีการพัฒนาและนําออกมาใชครั้งแรกในป พ.ศ. 2503  ซึ่งได

                  ทดลองใชในสหรัฐอเมริกากอน ตอมาไดนําไปทดลองใชในบางประเทศในยุโรปและเอเชีย  ระบบที่กลาวนี้
                  ไดมีการปรับปรุงแกไขมาเรื่อยๆ  เมื่อมีขอมูลเพิ่มขึ้นเพื่อจะไดนําไปใชในประเทศตางๆไดอยางกวางขวาง

                  จนกระทั่งป พ.ศ. 2518  ทางกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาไดจัดทํารูปเลมถาวรออกมาเผยแพรและเรียก

                  ระบบการจําแนกดินนี้ใหมวา  “Soil  Taxonomy”  อยางไรก็ตาม ไดมีการปรับปรุงแกไขตอมาอีกจนถึง

                  ปจจุบัน   อนึ่ง การที่กรมพัฒนาที่ดินไดนําระบบการจําแนกที่ดินนี้มาใชในประเทศไทย  เนื่องจากเหตุผล
                  ดังนี้คือ (เฉลียว, 2530)

                                (1) เปนระบบขั้นตอนการจําแนก  (Categories  of  classification)  สมบูรณเชนเดียวกับการ

                  จําแนกพืชและสัตว กลาวคือมีอยู  6  ระดับ  ไดแก  อันดับ  อันดับยอย  กลุมดิน  กลุมดินยอย  วงศ  และชุด
                  ดิน

                                (2) ชื่อของดินที่จําแนกไวตั้งแตระดับอันดับ ถึง ระดับวงศ  มีความหมายในตนเองและบง

                  ลักษณะที่สําคัญของดินที่มีการจําแนกไว

                                (3) ลักษณะของดินที่ใชในการจําแนกแตละขั้นตอนกําหนดไวคอนขางแนนอน สามารถวัด
                  และตรวจสอบไดทั้งในสนามและในหองปฏิบัติการ และเปนลักษณะของดินคอนขางมั่นคงแนนอนไม

                  เปลี่ยนแปลงงาย
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65