Page 58 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 58

53

                                    (2) น้ําใตดิน ถาหากน้ําใตดินอยูในระดับที่จะซึมขึ้นมาถึงเขตรากได รากพืชก็สามารถใชน้ํา

                    สวนนี้ได  แตน้ําตองมีคุณภาพดี  ไมมีการสะสมของเกลือในเขตรากขึ้นจนทําใหกระทบกระเทือนตอการ
                    เจริญเติบโตของพืช

                                     (3) ฝนที่ตกในฤดูกาลเพาะปลูก ซึ่งพืชอาจนําไปใชไดเพียงบางสวนเทานั้น โดยจะถูกกําหนด

                  จากปจจัยหลายอยางดวยกัน เชน อัตราและปริมาณของฝน อัตราการซึมของน้ําลงไปในดิน ความสามารถ
                  เก็บกักน้ําของดิน และความชื้นเดิมของดินกอนฝนตก เปนตน ถาอัตราที่ฝนตกสูงกวาอัตราที่น้ําฝนจะซึมลง

                  ไปในดิน สวนที่เกินก็จะกลายเปนน้ําผิวดิน (Runoff)  ไหลลงสูแมน้ําลําคลอง หรือถาปริมาณที่ซึมลงไปใน

                  ดินมากกวาที่ดินจะเก็บไวไดก็จะมีการซึมเลยเขตรากพืชออกไปอีก ดังนั้น ปริมาณน้ําฝนที่พืชจะนําไปใชได

                  อยางแทจริง จึงจํากัดอยูเฉพาะสวนที่เก็บกักอยูในเขตรากหรือในแปลงปลูกที่พืชสามารถนําไปใชไดเทานั้น
                                        ( 4)  น้ําชลประทานที่จะตองจัดหามาใหแกพืชปลูกเพิ่มเติมจากขอ 1 ถึง 3 เนื่องจากวาความชื้น

                  ที่เหลืออยูในดินและที่ซึมขึ้นมาจากใตดินมีปริมาณนอยไมเพียงพอ ดังนั้น น้ําชลประทานที่จัดหามาเพิ่มเติม

                  ใหกับพืช คือปริมาณน้ําที่พืชตองการสําหรับการระเหยและคายน้ํารวมกับน้ําที่จะนําไปใชเพื่อเหตุผลอื่น เชน

                  ควบคุมความเขมขนของเกลือในเขตรากพืช เปนตน

                  7.6. ความสัมพันธระหวางดินกับพืช (Soil and plant relationship)

                           พืชจะเจริญเติบโต ผลิดอก ออกผล และติดเมล็ดได ตองมีที่เกาะยึดเหนี่ยว  มีธาตุอาหาร และน้ํา

                  อยางเพียงพอ ดินเปนเทหวัตถุธรรมชาติ และเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญซึ่งพืชจะขาดเสียมิได นอกจากดินจะ
                  เปนตัวกลางใหรากพืชไดเกาะยึดแลว ยังเปนที่สะสมของแรธาตุ อาหารที่ไดจากการแปรสภาพของวัตถุตน

                  กําเนิดอินทรียวัตถุที่ไดจากการแปรสภาพของวัตถุตนกําเนิดอินทรียวัตถุที่ไดจากการเนาเปอยสลายตัวของ

                  ซากพืชและสัตว น้ําจากน้ําฝนที่ตกลงมาตามธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ทีกิจกรรมตาง ๆ อยูในดิน
                  หากปราศจากดิน พืชทั้งหลายคงจะไมอุบัติขึ้นมาในโลกนี้ ดินก็เชนเดียวกับพืช แตละชนิดจะแตกตางกัน

                  และมีลักษณะไมเหมือนกัน จะเห็นไดจากสีของดิน บางแหงมีมีเขม อีกแหงหนึ่งเปนสีแดง สีของดินมีผลมา

                  จากวัตถุตนกําเนิดที่แตกตางกัน ดินยังมีความลึกของชั้นดินที่แตกตางกันดวย ดินตามบริเวณที่ราบต่ํามักมี
                  ความลึกหรือความหนามากกวาดินที่เกิดขึ้นในบริเวณที่ลาดชัน ขนาดของเม็ดดินที่ประกอบเขาเปนเนื้อดินก็

                  ยังแตกตางกันไปอีก คือมีขนาดตั้งแตอนุภาคเปนดินทราย ดินทรายแปงและดินเหนียว นอกจากนี้ สภาพ

                  คุณสมบัติทางเคมีของดินแตละชนิดแตกตางกันออกไปอีกขึ้นอยูกับวัตถุตนกําเนิด สภาพและชนิดของพืช

                  พรรณที่ขึ้นอยูเดิม สิ่งตาง ๆ ดังกลาวมานี้ มีความสัมพันธตอชนิดและการเจริญเติบโตของพืชที่จะปลูก พืช
                  จะเจริญเติบโตไดดีนั้น ดินที่ใชปลูกตองมีความอุดมสมบูรณอยูในเกณฑดีพอ

                           ดินที่มีวัตถุตนกําเนิดมาจากหินทราย โดยเฉพาะดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  มีเนื้อดินเปน

                  ทรายมากกวาดินในภาคอื่นๆ เมื่อดินสวนใหญมีเนื้อเปนทราย จะมีผลตอชนิดและการเจริญเติบโตของพืช
                  พรรณที่ขึ้นอยู ความอุดมสมบูรณจัดอยูในเกณฑต่ํา เพราะองคประกอบของหินทรายมีแรจําพวกควอท

                  (Quartz)  เกือบทั้งหมด แรประเภทนี้เมื่อแปรสภาพกลายเปนดินจะไมสามารถปลดปลอยธาตุอาหารอันใดที่
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63