Page 56 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 56

51

                  ชนิดยอมไมเหมือนกัน ดินทรายซึ่งมีเนื้อหยาบ เปนดินที่มีความจุในการอุมน้ําต่ําที่สุด ดินรวนมีความจุใน

                  การอุมน้ําต่ํารองลงมา และดินเหนียวมีความจุในการอุมน้ําสูงที่สุด จึงเปนเครื่องชี้บอกใหทราบวาดินทรายมี
                  ความตองการในการใหน้ําบอยครั้งกวา และปริมาณน้ําที่ใหแตละครั้งนอยกวาดินเหนียว เมื่อเปรียบเทียบกัน

                           ดินเหนียวมีขนาดอนุภาคของดินเล็กมาก ยอมมีพื้นผิวสัมผัสมากกวาดินทราย เมื่อมีปริมาตรเทาๆ

                  กัน ความชื้นในดินเหนียวจึงมีมากกวา ขณะเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบดูเปอรเซ็นตความชื้นถึงขีดเฉาแลว
                  ความชื้นในดินเหนียวมีมากกวาดินทราย แสดงใหเห็นวา เปอรเซ็นตความชื้นมากหรือนอยไมไดเปนเครื่อง

                  ชี้บอกถึงแรงดึงความชื้นวามีมากนอยเทาใดเสมอไป ดินเหนียวพบวามีแรงดึงความชื้นมากกวาดินทราย สวน

                  ปริมาณความชื้นที่เปนประโยชนตอพืชนั้น ดินเนื้อละเอียดสามารถเก็บความชื้นไวใหพืชไดมากกวาดินเนื้อ

                  หยาบเสมอ
                                 น้ําเปนตัวทําลาย (Solvent) ที่ดี และตัวทําลายผิวหนาดินใหสึกกรอน (Erosive agent) น้ําฝนที่ตกลง

                  มากอนกระทบผิวหนาดิน ตองผานอากาศซึ่งมีกาซคารบอนไดออกไซดปะปนอยู จึงมีฤทธิ์เปนกรดอยาง

                  ออนเมื่อฝนตกถึงพื้น เม็ดฝนจะกระทบผิวดิน หากผิวกินดินไมมีสิ่งปกคลุม เนื้อดินจะถูกแรงตกกระทบของ

                  ฝนตกกระจายออกจากดิน ปริมาณของฝนที่ตกลงมามีมากขึ้น เมื่อรวมกันเขาสวนหนึ่งไหลซึมลงดินตามชอง
                  รูพรุนและถูกดูดซับอยูโดยรอบอนุภาคของเม็ดดิน อีกสวนหนึ่งไหลซึมตอลงสูใตดิน ชะลางเอาแรธาตุตางๆ

                  และอินทรียวัตถุลงไปสะสมอยูในดินชั้นลาง บางสวนอาจซึมลงสูระดับน้ําใตดิน (Ground-water level) เกิน

                  กวาระดับรากพืชจะดูดขึ้นมาใชประโยชนได เรียกวาการชะลางธาตุอาหารในดิน (Leaching) นับวาเปนการ
                  สูญเสียธาตุอาหารตามธรรมชาติวิธีหนึ่ง น้ําฝนสวนอื่นๆ ที่เหลือซึ่งเปนสวนเกินที่ดินจะดูดซับไวได และไม

                  สามารถที่จะไหลซึมผานดินตอไปไดอีก ก็จะไหลผานทวมผิวดิน กลายเปนน้ําไหลบา (Run off water)  พัด

                  พาเอาเนื้อดิน และธาตุอาหารบนผิวดินไปกับน้ํา จากที่สูงลงสูที่ต่ํา ออกแมน้ําลําธาร ซึ่งเปนการสูญเสียดิน
                  และธาตุอาหารตามธรรมชาติอีกวิธีหนึ่ง เรียกกวาการชะลางพังทลายของดิน (Soil erosion) ทําใหคุณสมบัติ

                  ของดินบริเวณนั้นๆ เปลี่ยนไปจากเดิมในลักษณะเสื่อมโทรมลง



                  7.5. ความสัมพันธระหวางน้ํากับพืช (Water and plant relationship)
                           น้ําในดินหรือความชื้นที่พืชดูดไปใชได (Available  moisture)  เปนน้ําดูดซึม (Capillary  water)

                  ตั้งแตระดับความชื้นชลประทาน (Field capacity) คือความชื้นในดินหลังจากน้ําอิสระถูก ระบายออกไปแลว

                  จนถึงความชื้นที่จุดเหี่ยวถาวร (Permanent wilting point) คือความชื้นในดินที่มีนอยจนกระทั่งพืชไมสามารถ

                  ดูดมาใชทดแทนการคายน้ําจนพืชเหี่ยวเฉาอยางถาวร
                           น้ําเปนปจจัยสําคัญ และเปนวัตถุดิบที่พืชดึงดูดเอาจากดินแลวนําไปใชประโยชนในกระบวนการ

                  ปรุงอาหาร หรือสังเคราะหแสง  เพื่อเสริมสรางการเจริญเติบโต แตกกิ่งกานสาขา ผลิดอกออกผลและเมล็ด

                                น้ํายังเปนสวนประกอบอันสําคัญภายในเซลลของพืช ซึ่งทําหนาที่ชวยควบคุมอุณหภูมิภายในตนพืช
                  และอุณหภูมิของอากาศที่อยูภายนอก ชวยรักษารูปทรงเนื้อเยื่อตางๆ ของพืชใหคงตัวไมเหี่ยวเฉา อีกทั้งเปน

                  ตัวทําละลายแรธาตุตางๆ ในดินใหอยูในรูปสารละลายที่พืชสามารถดูดไปใชประโยชน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61