Page 55 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 55

50



                  7.3. ความสําคัญของน้ําตอพืช
                           ความชื้นหรือน้ําในดินเปนสิ่งจําเปนในการดํารงชีพของพืช และพืชยังใชดินเปนตัวกลาง ของการ

                  เจริญเติบโตโดยน้ําในดินละลายธาตุอาหารพืชออกมาใหพืชดูดไปใชประโยชน  ถาพืชขาดน้ําจะทําใหมีการ

                  เจริญเติบโตลดลง และใหผลผลิตจะต่ําลงดวย ทําใหกระบวนการเมตาโบลิซึมผิดปกติ ดังนั้น น้ําในดินจึงมี

                  ความสําคัญทั้งทางตรงและทางออมตอพืชดังนี้
                                   7.3.1.  น้ําเปนสวนประกอบที่สําคัญมากของพืช เปนองคประกอบในเซลพืชทุกเซล

                                   7.3.2.  เปนตัวทําละลายแรธาตุตางๆ ที่เปนธาตุอาหารพืชในดิน เพื่อใหพืชนําไปใชประโยชน

                                   7.3.3.  เปนตัวกลางในการเคลื่อนยายสิ่งตางๆในตนพืช น้ําเปนตัวกลางสําคัญในการ เคลื่อนยาย
                  ธาตุอาหารจากสวนที่อยูไกลรากพืชใหไหลเขามาบริเวณรากและลําเลียงเขา ไปในลําตน ลําเลียงอาหารที่ได

                  จากกระบวนการแสงสังเคราะหของพืชไดแกน้ําตาลไป ยังสวนตางๆของพืช

                                   7.3.4.  น้ําทําใหเซลลพืชเตง ชวยรักษารูปทรงของพืช

                                  7.3.5.  เปนตัวทําปฏิกิริยาในกระบวนการตางๆ เชน กระบวนการสังเคราะหแสง กระบวนการยอย
                  (Digestion) พวกแปง ไขมันและโปรตีนโดยมีเอนไซมเปนตัวควบคุม และในกระบวนการ Osmosis ก็ตอง

                  อาศัยน้ําเปนตัวกลางทั้งสิ้น

                           7.3.6.ชวยควบคุมอุณหภูมิของตนพืชและดินใหคงที่ เนื่องจากน้ํามีคาความรอนแฝง (Latent heat)
                  และความรอนจําเพาะ (Specific heat) สูง ดังนั้น เมื่ออุณหภูมิอากาศสูงขึ้นพืชจะ คายน้ําออกทางปากใบเปน

                  การระบายความรอนออกไปพรอมกับไอน้ํา  ประกอบกับน้ําในดินยังมีบทบาทสําคัญในการปองกันสภาวะ

                  อุณหภูมิจัด (Extreme temperature) ของ ดินคือปองกันไมใหอุณหภูมิดินสูงหรือต่ําเกินไป
                           7.3.7. น้ําจําเปนตอการงอกของเมล็ดพืช



                   7.4. ความสัมพันธระหวางดินกับน้ํา (Soil and water relationship)

                           ดินประกอบดวยสสาร 3  สถานะ คือของแข็ง ทั้งอินทรียวัตถุ และอนินทรียวัตถุ ของเหลวซึ่งสวน
                  ใหญคือน้ํา และแกส เนื้อดินและโครงสรางของดินจะเปนตัวกําหนดขนาดชองวางของเม็ดดินใหเปนที่อยู

                  ของน้ําและแกส ดินที่มีเนื้อหยาบ เชน ดินทรายมีคุณสมบัติใหน้ําซึมผานไดงาย แตอุมน้ําไวไดนอย ในทาง

                  ตรงกันขามดินเนื้อละเอียดเชนดินเหนียว มีคุณสมบัติใหน้ําซึมผานไดยากจึงอุมน้ําไวไดมาก ทั้งดินเนื้อหยาบ

                  และละเอียดเกินไป จึงมีคุณสมบัติในการอุมน้ําและระบายน้ําไมเหมาะสมตามความตองการของพืช ดินที่
                  เหมาะตอการเพาะปลูกพืชและสามารถจัดการชลประทานไดเหมาะสมควรเปนดินเนื้อปานกลางที่สามารถ

                  เก็บกักและระบายน้ําไดดี ชวยใหน้ําที่ถูกสงเขามายังบริเวณรากพืชจะถูกดูดยึดเก็บกักเอาไวใชไดมากและ

                  หากน้ํามากเกินความตองการดินก็สามารถระบายออกไปไดดี
                           ปริมาณน้ําที่ถูกดูดซับไวระหวางอนุภาคของเม็ดดินนี้มีความแตกตางกัน และไมเทากัน ขึ้นอยูกับ

                  ชนิดและคุณสมบัติของดิน ดังนั้น ระดับความจุในการอุมน้ําสูงสุด (Maximum field capacity) ของดินแตละ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60