Page 169 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 169

164

                           การพัฒนารูปแบบระบบเกษตรผสมผสาน มีการปฏิบัติกันมานานแลว จากรูปแบบการผลิตที่งายๆ

                  เชนการเลี้ยงปลาในนาขาว และหลังจากที่หนวยงานของรัฐเขามามีบทบาทในดานการสงเสริมและวิจัยมาก
                  ขึ้น รูปแบบการผลิตจึงมีความซับซอนมากขึ้น มีการผสมผสานระหวางพืช สัตวและปลา โดยทั่วไปรูปแบบ

                  ของการผลิต และขนาดของกิจกรรมการผลิตในไรนาจะแตกตางกันไป อยางไรก็ตาม ปจจัยที่กําหนดรูปแบบ

                  การผลิตมี 3 ประการคือ

                                 (1) สภาพแวดลอมทางกายภาพของพื้นที่ เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ระดับความสูงต่ําของ
                  พื้นที่ แหลงน้ํา สภาพลมฟาอากาศและอื่นๆ

                               (2) สภาพแวดลอมทางชีวภาพของพื้นที่ ไดแก ชนิดของพืช สัตวและปลาที่สามารถปรับตัวเขากับ

                  พื้นที่ไดอยางเหมาะสม
                                  (3) สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและสังคม ไดแก ขนาดของพื้นที่ถือครอง จํานวนแรงงานใน

                  ครัวเรือน เงินออม ตลาด พฤติกรรมการบริโภค เปนตน



                           รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน ถายึดรายไดรวมจากฟารมเปนหลักแลว สามารถแบงออกได
                  เปน 3 แบบ คือ

                                (1) การผสมผสานโดยยึดพืชเปนหลัก รายไดจากพืชจะเปนรายไดหลักของครัวเรือน สวนรายได

                  จากกิจกรรมอื่นๆ เชน ปลา และเลี้ยงสัตว จะเปนรายไดรอง
                             (2) การผสมผสานโดยยึดสัตวเปนหลัก รายไดหลักจะไดจากสัตวเลี้ยง สวนรายไดจากพืชและปลา

                  จะเปนรายไดรอง

                                (3) การผสมผสานโดยยึดปลาเปนหลัก รายไดหลักมาจากการเลี้ยงปลา สวนรายไดจากพืชและสัตว
                  จะเปนรายไดรอง



                  ขอดีเดนของระบบเกษตรผสมผสาน

                               (1) การลดความเสี่ยงและความไมแนนอนของรายได
                              (2) มีรายไดสม่ําเสมอ

                              (3) การประหยัดทางขอบขาย คาใชจายในไรนาลดลง มีรายไดสุทธิเพิ่มมากขึ้น

                               (4) ลดการพึ่งพิงจากภายนอก

                               (5) ลดการวางงานตามฤดูกาล มีงานทําทั้งป ทําใหลดการอพยพแรงงาน


                         13.3.3. เกษตรทฤษฎีใหม  (The New Theory Agriculture)

                         เปนรูปแบบหนึ่งของเกษตรยั่งยืนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานแกเกษตรกรไทยที่มี
                  พื้นที่ทํากินนอย และเปนตัวอยางบริหารจัดการพื้นที่ใหมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานความยั่งยืน เนื่องจากบน
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174