Page 171 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 171

166

                                (2)  การจัดการทรัพยากรน้ํา เนนการจัดหาแหลงน้ําเพื่อสนับสนุนการผลิตในไรนา มีการจัดการ

                  บริหารน้ําที่มีอยูอยางเกิดประโยชนสูงสุด
                                (3) ความมั่นคงทางดานรายได เนนการทําเกษตรเพื่อการบริโภคในครัวเรือน และจําหนายในสวนที่

                  เหลือ จึงจะกอใหเกิดรายไดที่มั่นคงแกเกษตรกร และเปนการลดคาใชจายในครัวเรือนอีกดวย



                  หลักการของระบบเกษตรทฤษฎีใหม มีดังนี้
                           (1) หลักการทั่วไปของเกษตรทฤษฏีใหม

                                1) เปนรูปแบบการทําการเกษตร สําหรับเกษตรกรรายยอยที่มีพื้นทํากินอยางนอย 10-15 ไร

                  ในเขตอาศัยน้ําฝน
                                          2)  การมีแหลงน้ําในไรนา สามารถใชประโยชนน้ําเพื่อทําการเกษตรทั้งการปลูกพืชและ

                  ประมง

                                         3)  เกษตรกรมีพื้นที่ทํานาซึ่งผลิตอาหารหลัก ใหมีผลผลิตเพียงพอแกการบริโภค

                                        4)   การแบงพื้นที่การเกษตรใหหลากหลายเพื่อการบริโภคในครัวเรือนและขายเพื่อเปนรายได
                  สูครอบครัว

                                        5)  การทํากิจกรรมหลายอยางเปนการใชทรัพยากรไดอยางเต็มที่และมีประสิทธิภาพ

                                         6)  การปลูกไมผลและไมยืนตน ไมผลไวบริโภค มีฟนไวใช เปนการสรางความชุมชื้นแก
                  ธรรมชาติ

                                        7)  การมีแหลงกักเก็บน้ําในไรนา เกษตรกรจะใชน้ําอยางประหยัด เห็นคุณคาและเพิ่มปริมาณ

                  น้ําไดมากขึ้น
                               (2)  กิจกรรมเชิงระบบของการเกษตรทฤษฎีใหม

                                1) กิจกรรมดานแหลงน้ํา ไดแก การใชน้ําเพื่อการเกษตร อุปโภคและบริโภคในครัวเรือน

                  ตลอดจนเลี้ยงปลาและสัตวน้ําอื่นๆ ควรมีแหลงน้ําขนาดใหญไวรองรับในฤดูแลง
                                2) กิจกรรมดานอาหาร ไดแก การมีผลผลิตเพื่อใชเปนอาหารของเกษตรกรและสัตวเลี้ยง

                  เชน ขาว พืชไร พืชผักสวนครัว และ สัตวน้ํา เปนตน

                                3) กิจกรรมดานรายได ไดแก กิจกรรมในมิติดานเศรษฐกิจที่พิจารณารายไดที่เกิดขึ้นจาก

                  ระบบเกษตรทฤษฎีใหม เชน รายไดรายวัน รายสัปดาห รายเดือน และรายป
                                4) กิจกรรมพื้นที่บริเวณบาน ไดแก กิจกรรมในพื้นที่บาน มีทั้งการปลูกพืชผักสวนครัว พืช

                  สมุนไพร ไมผลไมยืนตน การเลี้ยงสัตวและการเพาะเห็ด เปนตน

                               (3)  ประเด็นเฉพาะของการเกษตรทฤษฎีใหมโดยการระบุเปรียบเทียบบางประเด็น ที่ชี้ใหเห็นความ

                  แตกตางของการเกษตรทฤษฎีใหม และการเกษตรวิธีอื่นๆไวอยางนาสนใจ ดังนี้
                                1) เกษตรกรที่มีพื้นฐานตางๆไมตรงกับสมมติฐาน เชน มีพื้นที่มาก มีแหลงน้ํา สมบูรณ

                  ฐานะดี และมีสมาชิกในครัวเรือนนอย ตองจางแรงงาน ก็มีสิทธิที่จะทําการเกษตรที่คลายคลึงกับแนวทฤษฎี
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176