Page 165 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 165

160

                  จากภายนอกใหไดมากที่สุด และมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติและมีผลตอบแทนที่จะทําใหเกษตรกร

                  สามารถดํารงชีพและประกอบอาชีพการเกษตรไดอยางยั่งยืน จะเห็นไดวาความหมายของเกษตรกรรมยั่งยืน
                  เกี่ยวของกับมิติตางๆ อยางหลากหลาย ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม และมีความเกี่ยวโยงสัมพันธ

                  กันในแตละมิติโดยไมสามารถแยกจากกันไดโดยเด็ดขาด

                           ระบบเกษตรยั่งยืน ควรมีลักษณะการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรที่เลียนแบบระบบ
                  นิเวศของปาธรรมชาติ คือมีความหลากหลายทางชีวภาพ มีกลไกควบคุมตัวเอง มีการพึ่งพาปจจัยการผลิตจาก

                  ภายนอกนอยที่สุดตามความจําเปน สําหรับการปองกันและกําจัดศัตรูพืชพยายามลดการใชสารเคมี โดยการ

                  ใชวิธีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน กลาวคือควรใหความสําคัญกับระบบการปลูกพืชที่เกื้อกูลกันเพื่อ


                  สรางความสมดุลตามธรรมชาติในระบบการเกษตร


                  13.3. รูปแบบของระบบการเกษตรแบบยั่งยืน
                             หลักการของระบบการเกษตรแบบยั่งยืน ประกอบดวย 5 รูปแบบดังนี้

                                  13.3.1. วนเกษตร (Agroforestry system

                                  13.3.2. เกษตรผสมผสาน (Integrated farming system)
                                  13.3.3. เกษตรทฤษฏีใหม (The New Theory Agriculture)

                                  13.3.4. เกษตรอินทรีย (Organic Agriculture)

                                  13.3.5. เกษตรธรรมชาติ (Natural agriculture)

                           13.3.1. วนเกษตร  เปนระบบเกษตรกรรมที่นําเอาหลักการความยั่งยืนถาวรของระบบปาธรรมชาติ

                  มาเปนแนวทางในการทําการเกษตร  ใหความสําคัญเปนอยางสูงกับการปลูกไมยืนตน  ไมผล  และไมใชสอย

                  ตาง ๆ ใหเปนองคประกอบหลักของไรนา ผสมผสานกับการปลูกพืชชั้นลางที่ไมตองการแสงแดดมาก หรือ
                  ไดอาศัยรมเงา  และความชื้นจากการที่มีพืชชั้นบนขึ้นปกคลุม  รวมทั้งการจัดองคประกอบการผลิตทาง

                  การเกษตรใหมีความหลากหลายชนิดของพืชและสัตว คําวา “วนเกษตร” ถูกใชมากอนหนานี้ โดยนักวิชาการ

                  และหนวยงานดานปาไม  โดยใหความหมายที่มีนัยของการทําปาไมผสมผสานรวมกับการปลูกพืชและเลี้ยง

                  สัตว
                            วนเกษตร ความหมายทั่วไป คือ ระบบการใชที่ดินเพื่อดํารงกิจกรรมการเกษตรตางๆ ระหวาง

                  ตนไมในพื้นที่ปาระหวางหรือไมยืนตนที่ปลูกขึ้น โดยที่การปลูกพืชและเลี้ยงสัตวจะตองมีความสอดคลอง

                  ซึ่งกันและกัน และเกื้อกูลกับระบบนิเวศปาไมในทองถิ่น

                           ระบบวนเกษตร หมายถึง การทําการเกษตรในพื้นที่ปา เชน การปลูกพืชเกษตรแซมในพื้นที่ปา
                  ธรรมชาติ การนําสัตวไปเลี้ยงในปา การเก็บผลผลิตจากปามาใชประโยชนอยางยั่งยืน และการใชพื้นที่ปาทํา

                  การเพาะปลูกในบางชวงเวลาสลับกับการปลอยใหฟนคืนสภาพกลับไปเปนปา รวมถึงการสรางระบบเกษตร
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170