Page 173 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 173

168

                  ความอุดมสมบูรณใหแกดินโดยใหความสําคัญของโครงสรางทางกายภาพของดิน และองคประกอบที่เปน

                  ธาตุอาหารพืช อินทรียวัตถุและสิ่งมีชีวิตในดิน
                                 (2)  การสรางความปลอดภัยของอาหาร :  เนื่องจากการใชสารเคมีในปริมาณที่มากและสะสมเปน

                  ระยะเวลานานของรูปแบบการเกษตรกระแสหลัก กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและ

                  ทรัพยากรธรรมชาติ ดานเศรษฐกิจ สงผลกระทบตอพัฒนาการของภูมิปญญาทองถิ่น และที่สําคัญที่สุด คือ
                  ผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกรและผูบริโภคจากสารพิษที่ตกคางในผลผลิตทางการเกษตร



                  หลักการและเงื่อนไขของระบบเกษตรอินทรีย มีดังนี้

                                  (1) การหลีกเลี่ยงการใชสารเคมีในการผลิต
                                  (2) การเพิ่มพูนความสมบูรณของดินโดยการใชปุยหมัก ปุยคอก จุลินทรีย เปนตน

                                  (3) การควบคุมและกําจัดศัตรูโดยชีวภาพ กายภาพ และอินทรียเคมีหรือโดยวิธีธรรมชาติ

                                    เนื่องจากในแนวทางการเกษตรแบบอินทรียนั้น หัวใจสําคัญ คือ การปรับปรุงดินใหมีสภาพอุดม

                  สมบูรณมากที่สุด เทคนิคตางๆ ในการปรับปรุงดิน จึงถือเสมือนวาเปนปจจัยหลักแหงความสําเร็จของ
                  การเกษตรอินทรีย อาทิ เชน

                                1) การใชระบบการปลูกพืชแบบผสมผสาน พืชหมุนเวียน ปลูกพืชสดเปนปุย

                                  2) การใชวัสดุเหลือใชทางการเกษตร คือ ปุยหมัก ปุยคอก เศษพืชที่มีในไรนา
                                 3)  การใชจุลินทรียในดิน เชน โปรโตซัว เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส เปนตน ทําใหเกิด

                  กระบวนการทาชีวเคมี ในการยอยสลายอินทรียวัตถุในดิน ในการปรับปรุงดิน

                                  4) ใชวัสดุที่เกิดจากธรรมชาติประกอบดวยหินที่มีแรธาตุอาหารที่ตองการ
                                 5)  การใชชีวะวิธีหรือสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เชน การกําจัดเพลี้ยออนโดยใชวาน

                  น้ํา พญาไรใบ และทานตะวัน เปนตน

                                  6) การใชกลวิธีในการดักจับศัตรูพืช เชนติดไฟลอแมลง กาวกับดัก เปนตน


                           การพัฒนารูปแบบของระบบเกษตรอินทรีย แนวคิดเกษตรอินทรียในประเทศไทย ไดรับการ

                  พัฒนามาจากประสบการณในทางปฏิบัติ ของผูที่เปนทั้งนักวิชาการเกษตรและเกษตรกร ปจจุบันเกษตรกรที่

                  ทําการเกษตรอินทรียในประเทศไทยมีกรรมวิธีที่หลากหลายในการจัดระบบการผลิต เชน ทําการเพาะปลูก

                  พืชหลายชนิดผสมผสานกันเพื่อใหเกิดความหลากหลาย ใชชีวะวิธีในการกําจัดศัตรูพืช หรือทําการปลูกพืช
                  ชนิดเดียวแตไมใชปุยเคมี และไมใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช ผลผลิตเกษตรปลอดสารพิษไดรับความ

                  สนใจจากผูบริโภคทั้งในและตางประเทศ และมีแนวโนมการผลิตที่เพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการโดย

                  ขึ้นอยูกับขนาด ความสด รสชาติ มาตรฐานและคุณภาพ ดังนั้น จึงมีการกําหนดมาตรฐานสากลของสมาพันธ
                  ขบวนการเกษตรอินทรียนานาชาติ (International Federal of Organic Agriculture Movement : IFOAM) ซึ่ง
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178