Page 168 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 168

163

                                 เหตุผลที่มาของรูปแบบการเกษตรผสมผสานจากการทําเกษตรกระแสหลักโดยเฉพาะอยางยิ่งการ

                  ทําเกษตรเชิงเดี่ยวหรือการผลิตสินคา เกษตรชนิดเดียว เกิดปญหาหลายๆ ดานคือ
                                      ( 1) รายไดของครัวเรือนไมมีเสถียรภาพ

                                       (2) เศษวัสดุจากพืชและมูลสัตวไมไดนําไปใชประโยชน

                                       (3) การผลิตสินคาเดี่ยวบางชนิดใชเงินลงทุนมาก
                                       (4) ครัวเรือนตองพึ่งพิงอาหารจากภายนอก



                                ดังนั้น จึงเกิดแนวคิดในการที่หาระบบการผลิตในไรนา ที่สามารถใชประโยชนจากพื้นที่ทํากิน

                  ขนาดเล็ก เพื่อลดความเสี่ยงจากการผลิต ลดการพึ่งพิงเงินทุน ปจจัยการผลิตและอาหารจากภายนอก เศษพืช
                  และมูลสัตว ซึ่งเปนผลพลอยไดจากกิจกรรมการผลิต ไปใชใหเกิดประโยชนในไรนาและทําใหผลผลิตและ

                  รายไดเพิ่มขึ้น ระบบการผลิตดังกลาวคือ เกษตรผสมผสาน



                  วัตถุประสงคของระบบการเกษตรผสมผสาน : กลาวไดดังนี้
                                 (1)  เพื่อใหเกิดความมั่นคงดานรายได

                                 (2) เพื่อลดการพึ่งพาดานเงินทุน ปจจัยการผลิต และอาหารจากภายนอก

                                 (3)  เพื่อใหเกิดการประหยัดทางขอบขายและครอบครัวเกษตรกร
                                 (4) เพิ่มรายไดจากพื้นที่เกษตรขนาดยอยที่จํากัด

                           (5) เพิ่มพูนความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ ลดการทําลายสิ่งแวดลอม ทําใหเกษตรกรมี

                  ความเปนอิสระในการดํารงชีวิต



                  หลักการและเงื่อนไขของระบบเกษตรผสานผสาน : มีหลักการที่สําคัญ 2 ประการ คือ
                                 (1) มีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป และกิจกรรมทั้งสองชนิดนั้น ตองปฏิบัติในเวลาและ

                  สถานที่เดียวกัน มีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดมากกวาใหเกิดกําไรสูงสุด

                                (2)  เกิดการเกื้อกูลกันอยางตอเนื่องระหวางกิจกรรม เกื้อกูลกันระหวางพืชกับพืช พืชกับปลา สัตว
                  กับปลา พืชกับสัตว สัตวกับสัตว ซึ่งลักษณะการเกื้อกูลกันของระบบเกษตรผสมผสาน จึงทําใหตนทุนการ

                  ผลิตลดลง หรือที่เรียกวาเปนการประหยัดทางขอบขาย (Economy  of  scope)  และลดการพึ่งพิงปจจัยจาก

                  ภายนอกในที่สุด
                               ในดานเทคนิคและการจัดการไรนานั้น การเกษตรผสมผสานใหความสําคัญในเรื่องของการสราง

                  ความหลากหลายของพืช สัตว และทรัพยากรชีวภาพ การใชประโยชนเกื้อกูลกันระหวางกิจกรรม การใชปุย

                  หมัก ปุยคอก การใชวัสดุหรือพืชคลุมดิน การปลูกพืชหลายระดับ มีแหลงน้ําในไรนา ซึ่งจะไมเนนหนักวา
                  ตองมีการปฏิบัติ เชน สามารถใชพืชคลุมดิน ไถพรวนดิน หรือปุยเคมีก็ได
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173