Page 172 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 172

167

                  ใหมได แตเปนการทําการเกษตรผสมผสานตามปกติ หรือเกษตรชลประทานตามปกติ ไมนาจะเรียกวา

                  เกษตรทฤษฎีใหม
                                2) ถาพื้นที่ที่ไมเหมาะสมกับการปลูกขาวหรือปลูกขาวไมได ก็ไมใชเกษตรทฤษฎีใหม แต

                  เปนการทําไรหรือทําสวนตามปกติ



                  ขอดีเดนของการเกษตรทฤษฎีใหม สรุปได 5 ประการคือ
                                 (1) เปนแนวทางที่เนนถึงวัตถุประสงคดานความมั่นคงทางดานอาหารภายในครัวเรือน

                                 (2) เปนแนวทางที่เนนการจัดการทรัพยากรน้ําในระดับไรนา

                                 (3) เปนแนวทางที่ไมยึดติดกับเทคนิคเฉพาะในการจัดการการผลิตในไรนา

                                 (4) เปนแนวทางที่เสนอแนวทางปฏิบัติไดอยางเปนลําดับขั้นตอน
                                 (5) เปนแนวทางที่เนนกลุมเกษตรกรเปาหมายชัดเจน



                           13.3.4. เกษตรอินทรีย  ( Organic agriculture)
                           เปนแนวความคิดที่เกิดขึ้นมาจากการใหความสําคัญของความอุดมสมบูรณของดินโดยวิธีทาง

                  ธรรมชาติ ปฏิเสธการใชปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืชและสารเรงการเจริญเติบโตทุกชนิด เนื่องจากการใชปุยเคมี

                  และสารเคมีกําจัดศัตรูพืชในไรนา กอใหเกษตรกรประสบปญหาในดานสุขภาพอยางรุนแรง ประกอบกับ
                  ตองลงทุนสูง แตผลผลิตที่ไดมีความไมแนนอน ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม นอกจากนี้ สารเคมีที่ใชยังไป

                  ทําลายแมลงและสิ่งมีชีวิตตามธรรมชาติ เปนผลใหระบบนิเวศเกิดความไมสมดุล  เกษตรอินทรียจะเนนการ

                  ใชภูมิปญญาทองถิ่นที่เกิดจากประสบการณ ผสมผสานกับวิทยาการสมัยใหมแบบพึ่งพาธรรมชาติเพื่อ

                  แกปญหา และนํามาสูความยั่งยืนทางการเกษตร
                            เปนรูปแบบหนึ่งที่กําลังไดรับความนิยมในกลุมผูบริโภค เพราะความใสใจในสุขภาพและ

                  สิ่งแวดลอม เกษตรรูปแบบนี้มุงเนนการใชความสมดุลทางธรรมชาติเปนหลัก โดยไมตองใชสารเคมี เพื่อ

                  ความปลอดภัยของสุขภาพของผูผลิตและผูบริโภค รวมทั้งสุขภาพของสิ่งแวดลอม จึงอาจกลาวไดวา เกษตร

                  อินทรีย เปนการเกษตรที่หลีกเลี่ยงการใชสารเคมี เพื่อความปลอดภัยในสุขภาพ ใชซากพืช มูลสัตว การปลูก
                  พืชหมุนเวียน แรธาตุตามธรรมชาติในการปรับปรุงดิน ผสมผสานกับการกําจัดศัตรูพืชโดยชีวะวิธี หรือ

                  สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติชวยในการควบคุมทําลายศัตรูพืช


                  วัตถุประสงคของระบบเกษตรอินทรีย มีดังนี้

                                (1)  การฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน :  ดินเปนปจจัยสําคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต เพราะสิ่งมีชีวิตทุก

                  ชนิดเกิดขึ้น ดํารงอยูและตายไปตองอาศัยดิน ในขณะที่พืชเปนสิ่งมีชีวิตที่เปนอาหารของมนุษยและสัตว
                  ฉะนั้น พืชจึงเปนแหลงอาหารเริ่มตนของสิ่งมีชีวิต ดินที่มีความอุดมสมบูรณตองมีคุณสมบัติที่ประกอบดวย

                  สวนสําคัญ 3 ประการ คือ แรธาตุ อินทรียวัตถุ และสิ่งมีชีวิต ดังนั้น เกษตรอินทรียจึงมีวัตถุประสงคเพื่อสราง
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177