Page 174 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 174

169

                  ตอมาในประเทศไทยไดเปลี่ยนเปน สํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย หรือ มกท.(Organization Agriculture

                  Certification Thailand : ACT)รูปแบบเกษตรอินทรีย สามารถจําแนกตามประเภทของพืชที่ปลูกไดดังนี้
                                  (1)  การปลูกพืชผักในแบบเกษตรอินทรียเปนการปลูกผักชนิดเดียวหรือปลูกผสมผสานกันหลาย

                  ชนิดในพื้นที่เดียวกัน

                                (2) การปลูกพืชไรในแบบเกษตรอินทรีย เชน ขาว ซึ่งมีการพัฒนาเชื่อมโยงการผลิตและการตลาด
                  เปนระบบธุรกิจเกษตรอินทรีย อาจจะมีการประยุกตโดยเพิ่มพืชตระกูลถั่ว หรือเลี้ยงปลาในนาขาวไปดวยก็

                  ได

                                (3) การปลูกไมผลในแบบเกษตรอินทรีย เปนการหลีกเลี่ยงการใชสารเคมี ใชปุยจากเศษเหลือของ

                  พืช มูลและซากสัตว เปนอาหารของจุลินทรียเพื่อชวยในการปรับปรุงดิน ไมใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชเพื่อ
                  ความปลอดภัยตอเกษตรกรและผูบริโภค



                  ขอดีเดนของระบบเกษตรอินทรีย มีดังนี้

                                (1) การกอใหเกิดผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัยจากสารพิษ
                                (2) การเพิ่มมูลคาของผลผลิตและตอบสนองความตองการของผูบริโภค

                                ( 3) การฟนฟูความอุดมสมบูรณของดิน


                           13.3.5. เกษตรธรรมชาติ  (Natural  agriculture)

                                 ระบบการเกษตรในปจจุบันกอใหเกิดปญหาตางๆ มากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาทางดานการ

                  ทําลายความสมดุลทางธรรมชาติไรนา คือ การเริ่มกระบวนการแหงการปรับเปลี่ยนแนวความคิดและแนว
                  ทางการทําการเกษตร เพื่อใหเปนการทําการเกษตรที่สามารถรักษาสภาพแวดลอม ดวยการไมทําลายดิน ไม

                  ใชปุยเคมีหรือสารเคมีเพื่อกําจัดศัตรูพืช และยึดถือกฎแหงธรรมชาติ ตลอดจนเปนการทําเกษตรกรรมที่ทําให

                  เกษตรกรสามารถมีชีวิต และความเปนอยูแบบพอเพียง และสามารถพึ่งพาตนเองได (Self-sufficiency  and

                  self-reliance)
                                  เกษตรธรรมชาติเปนชื่อเฉพาะที่หมายถึง ประเภทของการทําเกษตรกรรม ซึ่งไดรับการพัฒนาและ

                  เผยแพรโดยนักเกษตรธรรมชาติชาวญี่ปุน ชื่อ มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ(Masanobu Fukuoka)  เขาเชื่อวาแทจริง

                  แลวมนุษยไมรูอะไรเลยและไมอาจเขาใกลธรรมชาติ จึงยึดถือหลักการของอกรรม (Do-nothing) หรือการไม
                  กระทํา คือการปลอยทุกอยางเปนไปตามยถากรรม การงดเวนกิจกรรมตางๆ ที่ไมจําเปนทุกชนิด และไมแยก

                  ทุกสิ่งออกจากธรรมชาติ

                            เกษตรธรรมชาติ เปนระบบเกษตรที่คํานึงถึงระบบนิเวศและสภาพแวดลอมเปนหลัก  เชน  เนน

                  การไมไถพรวนดิน ใชปุยธรรมชาติ ไมกําจัดวัชพืช ใชการคลุมดินและใชธรรมชาติใหเกิดประโยชน โดยไม

                  ทําลายธรรมชาติดวยกันเอง ทั้งยังใหความสําคัญกับดิน เพราะเปนแหลงกําเนิดของพืชหลายชนิด
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179