Page 166 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 166

161

                  ใหมีลักษณะเลียนแบบระบบนิเวศปาธรรมชาติ คือ มีไมยืนตนหนาแนนเปนสวนใหญ ทําใหระบบมีรมไม

                  ปกคลุม และมีความชุมชื่นสูง บางพื้นที่มีชื่อเรียกเฉพาะ ตามลักษณะความโดดเดนของระบบนั้นๆ
                           การเกษตรรูปแบบนี้สวนใหญพบในชุมชนที่อยูใกลชิดกับพื้นที่ปาธรรมชาติ เกษตรกรจะทําการ

                  ผลิตโดยไมใหกระทบตอพื้นที่ปาเดิม เชน ไมโคนไมปา หรือ การนําผลผลิตมาจากปามาใชประโยชนโดยไม

                  สงผลกระทบตอระบบนิเวศ รูปแบบเกษตรที่พบ เชน การทําสวนเมี่ยง (ชา) สวนมะแขวน ตาว ปอสา กง
                  เปนตน ในภาคเหนือ การทําสวนทุเรียน มังคุด ลองกอง สะตอ เหรียง เปนตน ในภาคใต

                           เหตุผลที่มาของระบบวนเกษตร จากสาเหตุของการตัดไมทําลายปา ที่ถูกตองตามกฎหมายและผิด

                  กฎหมาย การบุกเบิกพื้นที่ปาเพื่อทําการเกษตรกรรม เมื่อมีการขยายตัวของการทําเกษตรกระหลักอยาง

                  แพรหลาย การผลิตเพื่อการคา ทําใหมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกอยางกวางขวางสงผลใหเกิดปญหาดาน
                  สิ่งแวดลอม และความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติตามมาทั้งทรัพยากรปาไม ทรัพยากรดินและน้ํา

                  ทางออกในการรักษาหรือเพิ่มพื้นที่ปาเอาไว คือ การกระทําระบบวนเกษตร  จึงนับวาเปนรูปแบบเกษตร

                  ยั่งยืน เนื่องจากเปนการผลิตทางการเกษตรที่ถือเอาความสมดุลกับระบบนิเวศในพื้นที่ปาไมเปนหลัก


                  วัตถุประสงคของระบบวนเกษตร มีวัตถุประสงคหลักอยู 3 ประการ กลาวคือ

                                         (1) การดํารงอยูรวมกันระหวางพื้นที่ปากับการเกษตร

                                         (2) การเพิ่มพื้นที่ปาไมของประเทศ
                                        (3) การอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ



                   หลักการและเงื่อนไขของระบบวนเกษตร มีดังนี้

                                       (1)  การมีตนไมใหญและพืชหลายระดับ  คือ  การใชที่ดินมีประสิทธิภาพสูงขึ้นและยังชวยให
                  ระบบมีกลไกในการควบคุมตัวเอง และสามารถชวยอนุรักษดินไดเปนอยางดี

                                     (2) การเลือกพืชเศรษฐกิจใหเหมาะสมกับพื้นที่ คือ การใชประโยชนเกื้อกูลซึ่งกันและกันของพืช

                  สัตวและปาไม ซึ่งจะใชประโยชน ดังนี้

                                             1) ประโยชนที่เกิดขึ้นตอระดับเกษตรในไรนา : เพิ่มเสถียรภาพและความยั่งยืนของการผลิต
                  ประสิทธิภาพของการใชที่ดิน  ปรับปรุงสภาพแวดลอมทางการเกษตรที่ทรุดโทรมใหฟนฟูกลับคืนดีขึ้น  และ

                  ยังลดปญหาความเสียหายจากการทําลายของโรคและศัตรูพืช

                                           2) ประโยชนที่เกิดขึ้นตอเศรษฐกิจระดับประเทศ : ระบบวนเกษตรทําใหคุณภาพชีวิตของคน
                  ในชนบทดีขึ้น สามารถแกไขปญหาการอพยพจากชนบทเขาสูเมืองได สามารถหมุนเวียนทรัพยากรที่มีอยูให

                  เกิดเปนผลพลอยได เชน แรงงานสัตว แกสชีวภาพ และชวยปรับปรุงสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

                  โดยสวนรวมของประเทศ
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171