Page 161 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 161

156

                  ดานอยูระหวางความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน จะสงผลกระทบตอการปลูกพืชบางแตไมมากนัก และ

                  ถาพบชั้นดานอยูลึกมากกวา 100 เซนติเมตรจากผิวดิน ถือวาไมมีปญหาตอการปลูกพืช
                            12.7.1. ลักษณะของชั้นดาน

                            ชั้นดานเปนชั้นที่อัดตัวกันแนนหรือมีสารเชื่อมแข็งเปนแนวขนานกับหนาดินที่ความลึกแตกตางกัน

                  ไป ทําใหไปขวางกั้นการไหลซึมน้ําของดิน การถายเทอากาศในชั้นดินลางถัดไป ขัดขวางการชอนไชของ

                  รากพืช ชั้นดานแบงออกได 2 ประเภทใหญๆ คือ
                             (1)  ชั้นดานที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ชั้นดานประเภทนี้เปนชั้นดานที่มีสารเชื่อมแข็ง โดยมีสาร

                  เชื่อมจาก เหล็ก อินทรียวัตถุ คารบอเนตหรือซิลิกา ชั้นดานดินเหนียว ชั้นหินทรายแปงผุหรือชั้นหินพื้น

                             (2) ชั้นดานที่เกิดขึ้นจากการใชที่ดินไมเหมาะสม ชั้นดานประเภทนี้เกิดจากการอัดแนนของเนื้อ

                  ดินจากการไถพรวนดวยเครื่องจักรกลขนาดใหญในภาวะความชื้นที่ดินเปยกแฉะเกินไปที่ระดับความลึก
                  เดียวเปนประจํา

                              12.7.2. แนวทางการปรับปรุงแกไขดินดาน

                               การจัดการพื้นที่ดินดาน สามารถปรับปรุงแกไขได 2 วิธี ไดแก 1 วิธีกล การไถเปดดินดานโดยใช
                  เครื่องมือไถเปด เชน ไถสิ่ว (ริปเปอร) และวิธีพืช เชน การปลูกหญาแฝกทําลายชั้นดาน หรือปลูกหญาแฝก

                  ปรับปรุงบํารุงดิน

                             (1) กรณีพบชั้นดานธรรมชาติอยูตื้นกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน เลือกพืชที่มีระบบรากตื้นและ

                  ทนตอสภาพแหงแลง เชน หญาเลี้ยงสัตว หรือทําสวนปา แตถาพบชั้นดานที่เกิดจากใชที่ดินไมเหมาะสม ควร
                  ไถทําลายชั้นดานดวยเครื่องจักรกลขนาดใหญ หรือขุดหลุมปลูกใหทะลุชั้นดาน ปรับปรุงดินดวยปุยพืชสด

                  ปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับน้ําหมักชีวภาพและปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก

                             (2) กรณีพบชั้นดานธรรมชาติอยูระหวางความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน เลือกชนิดพืชที่

                  มีระบบรากตื้นหรือลึกปานกลางมาปลูก โดยมีการปรับปรุงบํารุงดินดวยการไถกลบพืชปุยสดหรือขุดหลุม
                  ปลูกและปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมัก ปุยคอกรวมกับน้ําหมักชีวภาพและปุยเคมี ทํารองระบายระหวาง

                  แปลงปลูกเปนชวงๆ เพื่อชวยระบายน้ําใตดินออกไปจากบริเวณรากพืชและปองกันโรครากเนา

                             (3)  กรณีพบชั้นดานอยูลึกมากกวา 100  เซนติเมตรจากผิวดิน สามารถปลูกพืชไดทุกชนิด โดย
                  การปรับปรุงบํารุงดินตามสภาพปญหาของดิน และควรระวังเรื่องรากเนา เมื่อมีฝนตกเปนปริมาณมากและ

                  นานติดตอกันหลายวัน

                             (4)  การปองกันการเกิดชั้นดานใตชั้นไถพรวน
                                  - การไถพรวนในขณะที่ความชื้นของดินเหมาะสม

                                  - ควรไถดินดวยไถสิ่ว เพื่อทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนและไถสลับกับการใชผาน 3 และ

                  ผาล 7 อยางนอย 3 ปตอครั้ง

                                  - เพิ่มอินทรียวัตถุแกดิน โดยใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก หรือปุยพืชสด
                                  - การใชระบบการปลูกพืชที่มีระบบรากลึกเปนพืชหมุนเวียน
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166