Page 162 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 162

157

                                  - ปลูกพืชตระกูลหญาที่มีระบบรากลึกและมีรากจํานวนมาก เชน การปลูกหญาแฝก

                  เพื่อใหรากชอนไชลงไปในดิน ทําใหเกิดชองวางในดินจํานวนมาก


                   12.8. ดินปนเปอน

                              ดินปนเปอน หมายถึง การที่สารเปนพิษในรูปตางๆ ถูกผสมลงในดินธรรมชาติ  การปนเปอนนี้

                  อาจเกิดจากความตั้งใจหรือไมตั้งใจ หรือเกิดจากธรรมชาติ แตทําใหที่ดินนั้นเกิดความเสื่อมโทรม มีปญหาตอ
                  การใชประโยชนทางการเกษตร หรือมีผลกระทบตอความปลอดภัยของมนุษยและสัตว หรือตองการ


                  ปรับปรุงที่ดินนั้นใหคืนสูสภาพเดิม
                              จากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551  มาตรา 14 บัญญัติวา “ในกรณีที่ปรากฏวาพื้นที่ใดมี
                  การใชหรือทําใหเกิดการปนเปอนของสารเคมีหรือวัตถุอื่นใดที่จะทําใหที่ดินเกิดความเสื่อมโทรมตอการใช

                  ประโยชนทางการเกษตร ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน มีอํานาจประกาศในราช

                  กิจจานุเบกษาควบคุมการใชที่ดินบริเวณนั้นและใหมีแผนที่แนบทายประกาศดวย แผนที่ดังกลาวใหถือเปน

                  สวนหนึ่งแหงประกาศ กรณีมีการปนเปอนเกิดขึ้น ใหผูกระทําการปนเปอนดําเนินการปรับปรุงที่ดินใหคืนสู
                  สภาพเดิมหรือชดเชยคาเสียหายใหแกรัฐหรือผูที่ไดรับความเสียหาย” เชน การปลอยน้ําเสียจากโรงงานลงสู

                  พื้นที่ทําการเกษตร หรือการทํากิจกรรมใดๆ ที่ทําใหพื้นที่เกษตรกรรมมีความเค็มเพิ่มขึ้นและมีผลกระทบตอ

                  พืชที่ปลูก  การทําใหพื้นที่เพาะปลูกปนเปอนดวยสารเคมีหรือโลหะหนักแลวมีผลกระทบตอสุขภาพ อนามัย
                  ของประชาชน เปนตน

                         12.8.1. สาเหตุการปนเปอนของดิน

                             (1)  เกิดตามธรรมชาติ จากวัตถุตนกําเนิดดิน

                             (2)  เกิดจากกิจกรรมของมนุษย   ไดแก

                                  - การทําเหมืองแร   การบด การทําใหแรเขมขนขึ้น การทิ้งหางแร การจัดการที่ไม
                  เหมาะสมยอมทําใหโลหะหนักปนเปอนในพื้นที่เกษตรกรรม

                                  - การถลุงแรและเถาลอย  โลหะหนักสวนใหญในอากาศมาจากโรงไฟฟา โรงถลุงโลหะ

                  และโรงงานที่ใชสารเคมี การเผาไหมถานหิน กิจกรรมยอยอื่นๆ เชน โรงงานแบตเตอรี่ โรงงานทําหลอด
                  ฟลูออเรสเซนต เปนตน

                             (3) การใชปุยและสารเคมีทางการเกษตร   มีสิ่งปนเปอนที่เปนโลหะหนักธาตุตางๆ เชน สารหนู

                  แคดเมียม ทองแดง และสังกะสี
                             (4) การใชน้ําเสียในระบบชลประทาน โรงงานอุตสาหกรรมปลอยน้ําเสียลงสูแมน้ําลําคลอง แลว

                  มีการใชน้ํานั้นเพื่อการชลประทาน กิจกรรมเชนนี้เปนอีกทางหนึ่งที่ทําใหเกิดการปนเปอนของโลหะหนัก

                  หรือสารพิษอื่น ๆ ในดิน

                             (5) การใชกากตะกอนน้ําเสีย การใชกากตะกอนน้ําเสียในปริมาณมากๆ ยอมทําใหเกิดการ

                  ปนเปอนของโลหะหนักโดยเฉพาะทองแดง
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167