Page 119 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 119

114

                  สูตรดังกลาวขางบนนี้ใชกับพื้นที่ที่มีความลาดเทอยูระหวาง 3-8 เปอรเซ็นตเทานั้น

                           11.2.3. การปลูกพืชหมุนเวียน (Crop rotation system) คือ การปลูกพืชสองชนิดหรือมากกวา
                  หมุนเวียนกันลงบนพื้นที่เดียวกัน โดยมีการจัดลําดับพืชที่ปลูกอยางมีระเบียบ และพืชที่ปลูกนั้นจะตอง

                  เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ นอกจากนี้จะตองเลือกใชชนิดพืช พันธุที่เหมาะสม และจัดเวลาปลูกใหดี  จึงจะ

                  ไดผลดีทั้งดานผลผลิตและการอนุรักษดินและน้ํา ความสําคัญของการปลูกพืชหมุนเวียนที่มีตอการอนุรักษ

                  ดินและน้ํา มีดังนี้
                           (1)  พื้นดินมีสิ่งปกคลุมดินเปนระยะเวลานานกวาการปลูกพืชชนิดเดียวกัน  จึงชวยปองกันการชะ

                  ลางพังทลายของดิน และลดการสูญเสียดิน

                           (2) ธาตุอาหารพืชในดินถูกใชไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น กลาวคือพืชหมุนเวียนชนิดตาง ๆ ที่
                  ใชปลูกมีความสามารถแตกตางกันในการดึงดูดธาตุอาหารจากดิน ทั้งชนิดและปริมาณ โดยรากของพืชแตละ

                  ชนิด สามารถชอนไชลงไดลึกแตกตางกัน และดูดธาตุอาหารจากดินไดมากนอยและแตกตางกันดวย

                           (3) การเพิ่มปริมาณธาตุไนโตรเจนใหแกดิน ปกติแลวในระบบพืชหมุนเวียนจะตองมีพืชตระกูลถั่ว

                  รวมอยูดวย ซึ่งจะชวยตรึงไนโตรเจนจากอากาศและเปลี่ยนใหอยูในรูปที่มีพืชปลูกตามมาดูดไปใชได เชนถั่ว
                  เหลืองสามารถตรึงไนโตรเจนได 58 กิโลกรัมตอเฮกตาร และถั่วลิสงสามารถดึงไนโตรเจนได 42 กิโลกรัม

                  ตอเฮกตาร

                           (4) ทําใหดินมีคุณสมบัติทางกายภาพดีอยูเสมอ กลาวคือการปลูกพืชหมุนเวียนในระบบที่ดีนั้น จะ
                  ทําใหปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีอยูเทาเดิมหรือเพิ่มขึ้น ซึ่งอินทรียวัตถุนั้น จะชวยทําใหดินรวนซุยมากขึ้น

                  และเปนตัวสงเสริมใหเกิดกอนดินเล็กๆ เปนผลทําใหดินดูดซึมน้ําและซับน้ําไดมาก จึงเพิ่มการซึมน้ําของดิน

                  ลดการสูญเสียดินและธาตุอาหารพืชโดยการชะลาง ยิ่งกวานั้นอินทรียวัตถุในดินยังชวยสงเสริมการ
                  เจริญเติบโตและเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดิน ซึ่งจะเปนประโยชนตอการเจริญเติบโตของพืช ตัวอยางพืชที่

                  จะทําใหดินมีสภาพทางกายภาพดีไดแก พืชตระกูลถั่วที่มีรากหยั่งลึกและหญาตาง ๆ

                           (5) การปลูกพืชหมุนเวียนทําใหการใชปุยเคมีและปุยคอกมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้เพราะวาเมื่อ
                  ใสปุยเคมีและปุยคอกใหแกพืช จะมีบางสวนที่พืชดูดเอาไปใช แตบางสวนจะสูญเสียจากดินโดยการชะลาง

                  และมีบางสวนจะคงเหลือตกคางอยูในดิน ถามีการปลูกพืชหมุนเวียน พืชที่ปลูกตามหลังก็จะดูดใชปุยที่เหลือ

                  ตกคางอยูในดินใหประโยชน ซึ่งถาไมปลูกพืชตามหลัง ปุยที่เหลือตกคางอยูในดินก็จะสูญเสียจากดินไปโดย

                  ไมมีประโยชน
                           (6) การปลูกพืชหมุนเวียนเปนการใชที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหดินมีความสามารถในการ

                  ใหผลผลพืช (Soil productivity) และทําใหความอุดมสมบูรณของดิน (Soil fertility) เพิ่มขึ้นหรือเทาเดิม

                           ระบบการปลูกพืชหมุนเวียนที่ดี จะชวยรักษาความสามารถในการใหผลผลิตของดินดีอยูเสมอ

                  ตามปกติระบบการปลูกพืชหมุนเวียนจะประกอบดวยชนิดของพืช 3 ชนิดคือ
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124