Page 124 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 124

119

                  ชนิดที่เปนไมยืนตน ใชทําเฟอรนิเจอรและเผาถาน ไดอีกดวย ความสําคัญของการปลูกพืชคลุมดินที่มีตอการ

                  อนุรักษดินและน้ํา
                           (1) สกัดกั้นฝนและลดความแรงของเม็ดฝนที่จะตกกระทบผิวดินดวยรมใบและสวนตางๆ  ของ

                  พืชคลุม  ทําใหดินไดรับแรงกระแทกของเม็ดฝนนอยลง  และไมสามารถทําใหอนุภาคดินแตกแยกออกจากัน

                  ได ดังนั้น ดินจึงไมถูกพัดพาไปที่อื่นได
                           (2) ลดความเร็วของน้ําที่ไหลบาบนผิวดิน และลดอํานาจการกัดเซาะของน้ําดวยสวนตางๆ ของพืช

                  คลุม

                           (3) รากของพืชคลุมดินชอนไช ทําใหดินแตกเปนกอนเล็กๆ และทําใหดินมีความพรุนมากขึ้น ซึ่ง

                  มีผลทําใหดินมีความรวนซุยมากขึ้น  และรากของพืชคลุมจะชวยยึดเกาะอนุภาคดิน  ซึ่งจะทําใหดินถูกชะลาง
                  พังทลายไดนอยลง

                           (4) ใบและสวนตางๆ  ของพืชคลุมที่รวงหลนบนผิวดินจะเนาเปอย  ผุพัง  และสลายตัว  ใหแรธาตุ

                  อาหารและอินทรียวัตถุแกดิน ทําใหดินอุดมสมบูรณยิ่งขึ้น

                           (5) กิจกรรมทางชีวภาพที่เกิดรวมกับการเจริญเติบโตของพืชคลุม ทําใหดินมีความพรุนมากขึ้น
                           (6) ชวยเก็บรักษาและสงวนความชื้นไวในดินไดมากและนานกวาแปลงที่ไมปลูกพืชคลุม

                  นอกจากนี้ยังชวยปองกันมิใหแสงแดดสองถึงพื้นดิน จึงชวยรักษาอุณหภูมิของพื้นที่ดินใหเหมาะสมแกการ

                  เจริญเติบโตของพืชหลัก
                           (7) รากของพืชคลุมตระกูลถั่วโดยจุลินทรียไรโซเบียมสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาเก็บ

                  สะสมไวที่ปมของราก เมื่อพืชคลุมแหงตายธาตุอาหารไนโตรเจนก็จะเปนประโยชนกับพืชที่ปลูกตามมา เชน

                  ถั่วลาย สามารถตรึงไนโตรเจนได 100-200 กิโลกรัมตอเฮกตารตอป ถั่วคาโลโปโกเนียมได 150-200
                  กิโลกรัมตอเฮกตารตอป เปนตน

                           (8) พืชคลุมจะดูดธาตุอาหารพืชที่ถูกชะลางลงไปอยูในดินชั้นลึกๆ  กลับขึ้นมาสูผิวดิน  เพื่อใหพืช

                  ที่ปลูกเปนพืชหลักไดใชธาตุอาหารเหลานั้นได
                            (9) การคายน้ําของพืชคลุมจะทําใหดินนั้นแหง แตไมมีผลกระทบตอพืชหลักที่ปลูกมานาน



                           ลักษณะของพื้นที่ที่จําเปนตองปลูกพืชคลุมดิน  มีขอพิจารณาดังนี้

                             (1) การปลูกพืชในพื้นที่ทําการเกษตร เพื่อจุดประสงคตองการพักดินและปรับปรุงบํารุงดิน
                  เนื่องจากปลูกพืชเศรษฐกิจติดตอกันเปนเวลานาน พืชคลุมที่ปลูกควรจะใชพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่วพุม ถั่ว

                  เล็บมือนาง ถั่วเขียว ถั่วดํา ถั่วแปบ ถั่วเขียวเมล็ดดํา เปนตน ซึ่งในระหวางการปลูกพืชคลุมนั้น เจาของที่ดินยัง

                  ตองการรายไดจากพืชคลุมอยู
                            (2) การปลูกพืชในบริเวณที่ดินเสื่อมโทรม มีปญหาการชะลางพังทลายของดินและถูกทอดทิ้ง เมื่อ

                  ปลูกพืชเศรษฐกิจไมคุมคากับการลงทุน การปลูกพืชคลุมก็เพื่อที่จะดัดแปลงเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว พืชคลุมที่

                  ใชปลูกมีทั้งตระกูลถั่วและตระกูลหญา เชน ถั่วเวอราโน ถั่วลาย ถั่วเซอราโตร หญาขน หญาซิกแนล หญา
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129