Page 121 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 121

116

                  ประเภทนี้จะเปนพืชผลาญดิน ซึ่งเมื่อนําไปปลูกแลวผลผลิตของพืชจะลดลงอยางมากในเวลาไมนาน ทําให

                  ดินเสื่อมโทรมอยางรวดเร็ว และทําใหเกิดการชะลางพังทลายของดินไดงาย
                           (2) Constructive crop rotation System  คือการปลูกพืชหมุนเวียนที่นําไปปฏิบัติแลวจะรักษาความ

                  อุดมสมบูรณของดินใหดีอยูเสมอ  และรักษาความสามารถในการใหผลผลิตดินคงที่  หรืออาจจะเปนการเพิ่ม

                  ความอุดมสมบูรณของดินและความสามารถในการใหผลผลิตของดินก็ได          พืชที่ปลูกในประเภทนี้จะ
                  ประกอบดวย พืชอนุรักษดิน พืชที่ชวยสรางดินและพืชผลาญดิน โดยนําพืชทั้ง 3 ชนิด ไปปลูกสลับกันบน

                  พื้นที่แปลงเดียวกัน

                          11.2.4.  การปลูกพืชแซม  (Intercropping system ) หมายถึง  การปลูกพืชตั้งแต 2 ชนิด  ขึ้นไปบน

                  พื้นที่ในเวลาเดียวกัน  โดยทําการปลูกพืชที่สองแซมลงในระหวางแถวของพืชแรกหรือพืชหลัก  สําหรับเวลา
                  ที่ปลูกพืชที่สองอาจปลูกพรอมกับพืชแรกหรือหลังเล็กนอยก็ได  ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของพืชแรกหรือพืชหลัก

                  ถาพืชหลักเปนไมยืนตน ก็สามารถเลือกเวลาปลูกพืชที่สองแซมไดตามความเหมาะสม อนึ่ง จํานวนแถวของ

                  พืชแซมหรือพืชที่สองนั้น  ไมจําเปนจะตองอยูในลักษณะพืชแซมแถวหนึ่งสลับพืชหลักแถวหนึ่งก็ได  ดังนั้น

                  จํานวนสัดสวนจํานวนแถวระหวางพืชแซมกับพืชหลักนั้น  จึงไมแนนอนขึ้นอยูกับชนิดของพืชหลักและพืช
                  แซม เชน การปลูกถั่วลิสง 2 แถว หรือถั่วเขียว 2 แถว แซมในระหวางแถวมันสําปะหลัง การปลูกถั่วเขียว 1

                  แถว แซมระหวางขาวโพด และการปลูกถั่วลิสง หรือถั่วเขียว หรือถั่วเหลือง หรือขาวโพด หรือพืชผักตางๆ

                  เปนตน อยางไรก็ตาม การปลูกพืชแซมนี้บางทานเรียกวาการปลูกพืชเปนแถวสลับกัน หรือการปลูกพืชแทรก
                  ระหวางแถว  ซึ่งก็มีความหมายและวิธีการปฏิบัติเชนเดียวกับการปลูกพืชแซมทุกประการ   ความสําคัญของ

                  การปลูกพืชแซมที่มีตอการอนุรักษดินและน้ํา

                                 (1)  พืชแซมมีอายุสั้นกวาพืชหลัก  แตมีการเจริญเติบโตเร็วกวาในระยะแรก  จึงชวยปกคลุมผิวดิน
                  และปองกันการชะลางพังทลายของดินที่เกิดขึ้นในตนฤดูฝน

                                (2)  การปลูกพืชแซม เปนการเพิ่มประชากรและความหนาแนนของพืชตอพื้นที่ ดังนั้น พื้นผิวดินจึง

                  มีพืชปกคลุมมากกวาการปลูกพืชอยางเดียว ใบของพืชเหลานั้นจะปกคลุมดิน ปองกันไมใหเม็ดฝนตกกระทบ
                  ผิวดิน จึงชวยปองกันการชะลางพังทลายของดิน นอกจานี้ ลําตนพืชชวยชะลอความเร็วของน้ําไหลบาและ

                  รากของพืชหลักและพืชแซมชวยเพิ่มอัตราการซาบซึมน้ํามากขึ้น

                                (3)   หลังจากการเก็บเกี่ยวซากของพืชแซมจะเปนวัตถุคลุมดิน ลดการไหลบาของน้ํา จึงชวยปองกัน

                  การชะลางพังทลายของดิน และสลายตัวใหอินทรียวัตถุแกดินตอไป
                                (4)  มีการดูดใชแรธาตุอาหารจากดินสม่ําเสมอและมีประสิทธิภาพ เพราะวาระบบรากของพืชหลัก

                  และพืชแซมจะแตกตางกัน จึงชอนไชดูดแรธาตุอาหารจากดินไดลึกแตกตางกัน นอกจากนี้ พืชแซมยัง

                  สามารถดูดปุยสวนเกินที่ใสใหกับพืชหลักได แทนที่จะสูญเสียโดยการชะลาง

                            ปจจัยที่เกี่ยวของตอระบบการปลูกพืชแซม มีดังนี้
                            (1)  แสงแดด  การปลูกพืชแซมจะมีการแขงขันและแยงแสงสวางระหวางพืชหลักและพืชแซม เพื่อ

                  ใชในการสังเคราะหอาหาร ดังนั้น ควรเลือกพืชที่มีความตองการแสงสวางแตกตางกัน เชน ปลูกออยซึ่งเปน
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126