Page 114 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 114

109

                  auriculiformis A. Cunn.) จามจุรี (Samanea saman Merill.) และกระถินเทพา (Acaia mangiym Willd.) เปน

                  ตน


                  11.2. ระบบการจัดการพืช (Cropping management system)

                           ระบบการจัดการพืช เปนคํารวมที่มาจากคําวา ระบบปลูกพืช (Cropping  system) กับการจัดการ

                  (Management) หมายถึงแบบแผนของการปฏิบัติที่กระทําตอพืช โดยมีการกําหนดที่แนนอนเกี่ยวกับเวลา
                  วิธีการ สถานที่  ชนิดพืชและเครื่องมือที่ใชประกอบการตาง ๆ ทั้งนี้ เพื่อดําเนินการใหพืชปลูกสามารถ

                  อํานวยประโยชนในดานอนุรักษ ปองกัน ปรับปรุง ฟนฟู และบํารุงรักษาทรัพยากรดินและน้ํา ใหอยูในสภาพ

                  ที่อุดมสมบูรณและมีประสิทธิภาพสูง พอที่จะดําเนินการผลิตทางการเกษตรตอไปไดอีก โดยเฉพาะอยางยิ่ง

                  เมื่อปลูกพืชลงไปแลวเปนที่เชื่อมั่นไดวาจะสามารถชวยเพิ่มผลผลิตตอหนึ่งหนวยพื้นที่สูงสุด อยางไรก็ตาม
                  แนวทางในการจัดการพืชนั้น ถาจะใหบังเกิดผลดีตอการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนจะตองนํามาใชและปฏิบัติ

                  กันอยางจริงจังในเขตพัฒนาที่ดิน   เพื่อเปนการทําใหเกิดความสะดวกในทางปฏิบัติ และงายตอการเขาใจ

                  ระบบการจัดการพืชสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ  (1) การจัดการพืชโดยใชระบบปลูกพืช
                  (Cropping system) และ (2) การจัดการพืชโดยใชการปลูกพืชเฉพาะแหง (Site specific cropping)

                           ระบบการจัดการพืช เปนรูปแบบของการปลูกพืชโดยจัดการบริหารและจัดการกําหนดชนิด และ

                  ลําดับของพืช ตลอดจนเวลาที่จะปลูกลงบนพื้นที่แหงเดียวกัน หรือพูดงายๆ วาการจัดปลูกพืชอยางเปนระบบ
                  มีระเบียบและตามเวลาอยางครบวงจร ซึ่งระบบปลูกพืชนี้ไดมีการกําหนดเอาไวแลวเปนการลวงหนากอน

                  การเตรียมดินหรือกอนจะถึงฤดูปลูกเพียงเล็กนอย ชนิดของพืชที่จะปลูกอาจมีเพียงชนิดเดียวปลูกติดตอกัน

                  ไปทุกปหรือพืชตางชนิดกันปลูกในลักษณะหมุนเวียนกันไป ภายในเวลา 1 ป หรือมากกวา 1 ปขึ้นไป ระบบ
                  ปลูกพืชสามารถนํามาใชประโยชนไดทั้งในพื้นที่ราบลุม  ที่ดอน  และที่ลาดชัน ในสภาพพื้นที่ราบลุม การใช

                  ระบบปลูกพืชมีวัตถุประสงคสวนใหญเพื่อการบํารุงความอุดมสมบูรณของดิน และใชพื้นที่ดินใหเกิด

                  ประโยชนมากที่สุด ขณะเดียวกันบนพื้นที่ดอนและลาดชัน ระบบปลูกพืชถูกนํามาใชเพื่อวัตถุประสงคใน

                  การปองการชะพังทลายของดินและบํารุงความอุดมสมบูรณของดิน ดังนั้น ในแตละพื้นที่ ระบบปลูกพืชที่จะ
                  ใช และชนิดของพืชที่จะปลูกจึงไมเหมือนกัน แตกตางกันไปขึ้นอยูกับความเหมาะสม และความจําเปนใน

                  การประโยชน อยางไรก็ตาม ระบบการปลูกพืชเปนมาตรการอนุรักษดินและน้ําขั้นพื้นฐานที่ความสําคัญ ซึ่ง

                  เกษตรกรสามารถปฏิบัติไดเองในเขตพัฒนาที่ดิน เพื่อใหบังเกิดประสิทธิภาพในการใชประโยชนที่ดินได
                  อยางยั่งยืน

                           ในระบบการจัดการพืชนั้น บางครั้งมีความจําเปนตองใชพืชหลายชนิดมาเกี่ยวของกับการจัดปลูก

                  ซึ่งอาจจะมีสองชนิดหรือมากกวาสองชนิดขึ้นไป จึงจะทําใหระบบปลูกพืชนั้น ๆ สมบูรณ และครบวงจรดี

                  ยิ่งขึ้น เพื่อใหเกิดความกระจางในพื้นฐานการใชระบบปลูกพืช จึงใครขออธิบายความหมายเฉพาะของพืชที่
                  จะใชตามระบบตางๆ ไวดังนี้
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119