Page 115 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 115

110

                                  (1)  พืชหลัก  (Main crop)  หมายถึงพืชปลูกในแถว  และเปนพืชที่ผูปลูกใหความสําคัญเปนลําดับ

                  แรกในการเก็บเกี่ยวเอาผลผลิตไปขายสูทองตลาด  พืชจําพวกนี้เมื่อปลูกลงในพื้นที่ดินแลวจําเปนตองมีการ
                  เอาใจใสดูแลรักษาอยางดี ตั้งแตปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยว บางครั้งเรียกวาพืชเศรษฐกิจ ไดแก ขาวโพด ขาวฟาง

                  ฝาย ยาสูบ ออย และมันสําปะหลัง เปนตน

                                 (2) พืชรอง (Companion crop) หมายถึง พืชที่ปลูกรวมกับพืชหลัก ซึ่งอาจปลูกในลักษณะเปนพืช

                  แซม  หรือพืชหมุนเวียนอยางใดอยางหนึ่ง  จุดประสงคในการปลูกรอง  เพื่อใหมีการใชพื้นที่วางระหวางแถว
                  ใหเกิดประโยชนมากที่สุด  ขณะเดียวกันพืชที่ปลูกรองยังทําหนาที่ในการชวยคลุมดินดวย  พืชรองเปนพืชที่ผู

                  ปลูกใหความสําคัญและเอาใจใสดูแลรักษานอยกวาพืชหลัก  ไดแก  ถั่วเขียว  ถั่วลิสง  ถั่วแดง  ถั่วพุม  และถั่ว

                  เหลือง เปนตน

                                 (3) พืชยึดดิน (Sod crop) หมายถึง พืชที่มีการเจริญเติบโตแผประสานบนดิน ลักษณะเตี้ยเกือบชิด
                  ดิน  เปนพืชที่ปลูกเพื่อวัตถุประสงคในการยึดดิน  ปองกันการชะลางพังทลาย  และปลูกเพื่อพักดินในระบบ

                  หมุนเวียน ไดแก พืชตระกูลหญา เชน หญาสวาซีแลนด หญาเบอรมิวดา หญาแพงโกลา หญานวลนอย หญา

                  มาเลเซีย และหญาเจาชู  เปนตน ในบางกรณี พืชยึดดินอาจจําเปนตองใชหญาที่มีขนาดความสูงปานกลาง ซึ่ง
                  ใชไดผลดีกับดินบางชนิด เชน หญารูซี่ หญาซิกแนล หญาโรดส และหญากรีนแพนนิค เปนตน

                           ระบบการจัดการพืชแตละระบบ อาจมีการใชประเภทของพืชครบทั้ง 3 อยาง บางระบบอาจมีเพียง

                  2  อยาง และบางกรณีอาจมีใชเพียงชนิดเดียวเทานั้น  ก็สามารถทําใหระบบการปลูกพืชนั้นครบวงจรได
                  ระบบการปลูกพืชที่สําคัญ และมีผลตอการอนุรักษดินและน้ํา ในพื้นการเกษตรอาศัยน้ําฝน สามารถแบงออก

                  ไดดังนี้

                           11.2.1. การปลูกพืชตามแนวระดับ (Contour cultivation system) คือ การปลูกพืชขนานกันไป

                  ตามแนวระดับ ขวางความลาดเทของพื้นที่ ปกติแลวจะตองมีการไถพรวนดินตามแนวระดับดวย  เพื่อจะได

                  ปลูกพืชตามแนวระดับไดสะดวกและมีประสิทธิภาพในการอนุรักษดินและน้ํา มักนิยมปฏิบัติบนพื้นที่ที่มี
                  ความลาดเท 2-8 เปอรเซ็นต มีความลาดเทสม่ําเสมอและมีระยะของความลาดเทไมเกิน 100 เมตรความสําคัญ

                  ของการปลูกพืชตามแนวระดับตอการอนุรักษดินและน้ํา

                           (1)  รองที่เกิดขึ้นจากการไถพรวนดินและปลูกพืช จะทําหนาที่เหมือนเขื่อนสกัดกั้น และลด
                  ความเร็วของน้ําที่ไหลบาบนผิวดินโดยตรง

                           (2) ทําใหเกิดที่กักเก็บน้ําบนผิวดินจํานวนมาก ถาดินมีการซึมซาบดี และมีความสามารถในการซึม

                  น้ําสูง จะเปนทําใหน้ําฝนที่ตกลงมาสวนใหญไหลซึมลงไปในดินไดมาก
                           (3)  การไถพรวนดินและปลูกพืชตามแนวระดับนี้ ถาปฏิบัติบนพื้นที่ที่มีความลาดเทไมเกิน 8

                  เปอรเซ็นต จะลดการสูญเสียดินไดประมาณ 50 เปอรเซ็นตของดินที่สูญเสียจากการปลูกพืชขึ้นลงตามแนว

                  ลาดเท
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120