Page 123 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 123

118

                           (3) สามารถใชพื้นที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมปลอยใหที่ดินวางเปลาขณะที่ฤดูฝนยังไมหมด

                  หรือดินยังมีความชื้นอยู ใหเปนประโยชนกับพืชที่สอง
                           (4) สามารถใชปุยที่ใสใหกับพืชที่ปลูกครั้งแรก แตตกคางอยูในดินใหเปนประโยชนกับพืชที่ปลูก

                  ตามมา

                          (5) การปลูกพืชเหลื่อมฤดูนี้ สวนตางๆ ของพืชแรกจะปกคลุมดิน ชวยรักษาความชื้นไวในดิน ซึ่งจะ
                  เปนประโยชนกับพืชที่ปลูกตามมา

                          (6) การปลูกพืชเหลื่อมฤดูนี้ ถามีการปลูกพืชตามแนวระดับ ก็สามารถนําไปปฏิบัติไดในพื้นที่ที่มี

                  ความลาดเทถึง 10 เปอรเซ็นต

                          ปจจัยที่เกี่ยวของตอการปลูกพืชเหลื่อมฤดู มีขอพิจารณากอนการปลูกพืชเหลื่อมฤดู ดังนี้
                          (1) ความหนาแนนของพืชแรก ซึ่งหมายถึงประชากรตอพื้นที่ของพืชแรกมีมากนอยแคไหน ทั้งนี้

                  ขึ้นอยูกับการจัดระยะปลูกระหวางตน และระหวางแถวของพืชแรก ถาคิดวาจะมีการปลูกพืชเหลื่อมฤดู ควร

                  จะมีการวางแผนกอนการปลูกพืช

                          (2) ความเขมขนของแสงสวางที่สองผานในชวงระยะเวลาที่ปลูกพืชคาบเกี่ยวกัน  แสงสวางควรจะ
                  พอดีกับพืชที่สอง เพื่อจะไดงอกและเจริญเติบโตเปนตนกลาไดตามปกติ

                          (3) ระยะเวลาที่พืชที่สองจะปลูกคาบเกี่ยวกับพืชแรก ซึ่งขึ้นอยูกับความชื้นของดิน ความเขมของ

                  แสงความทนตอรมเงาของพืชที่สอง และอายุการเก็บเกี่ยวของพืชแรกและพืชที่สอง ระยะเวลาที่ปลูกพืชคาบ
                  เกี่ยวตอเนื่องนี้จะมีผลตอผลผลิตของพืชแรกและพืชที่สอง

                          (4) ปญหาโรคและแมลงศัตรูพืช กลาวคือ พืชแรกตองไมเปนที่พักอาศัยของโรคและแมลง ที่จะ

                  ทําลายพืชที่สอง ดังนั้น ในการปลูกพืชเหลื่อมฤดู พืชแรกและพืชที่สองควรเปนพืชตางตระกูลกัน
                          (5) ปริมาณน้ําฝนและการแพรกระจายของฝน ปกติแลวประเทศไทยจะเริ่มมีฝนตกประมาณเดือน

                  พฤษภาคม และปริมาณฝนก็จะตกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งประมาณเดือนกันยายน ปริมาณฝนก็จะลดลง แต

                  มิไดเปนเชนนี้ทุกปเสมอไป การตกของฝนจะแตกตางกันไปในแตละปและแตละทองที่ ทั้งปริมาณฝนและ
                  การกระจายของฝน ดังนั้น จําเปนตองใชขอมูลสถิติปริมาณฝนตกและการกระจายของฝนหลายๆ ป มา

                  พิจารณากอนวางแผนปลูกพืชเหลื่อมฤดู เพื่อปองกันการขาดแคลนน้ําและความชื้นสําหรับปลูกพืชที่สอง

                         (6) ชนิดของดิน ถาพื้นที่เปนดินทรายหรือดินรวน การปลูกพืชเหลื่อมฤดู ซึ่งตองปฏิบัติขณะดินมี

                  ความชื้นมาก ก็จะปฏิบัติไดงายกวาดินเหนียว
                          11.2.6. การปลูกพืชคลุมดินเพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดิน หมายถึง  การปลูกพืชหรือหวาน

                  พืชคลุมดินใหมีการเจริญเติบโตอยางหนาแนน เพื่อปกคลุมผิวดินหรือคุมกันดิน ปองกันการชะลางพังทลาย

                  ของดิน และทําใหดินมีความอุดมสมบูรณเพิ่มขึ้น เกษตรกรสวนมากมักจะเขาใจวาพืชคลุมดินเปนพืชลมลุก

                  ซึ่งไดแก พืชตระกูลถั่ว และตระกูลหญาที่เปนเถาเลื้อย เมื่อปลูกแลวใชบริโภคหรือจําหนายไมได จึงใหความ
                  สนใจพืชคลุมดินดอยกวาพืชเศรษฐกิจ ที่จริงแลวพืชคลุมดินมากมายหลายชนิดใชบริโภค ใชเลี้ยงสัตว บาง
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128