Page 120 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 120

115

                            (1) พืชที่ชวยสรางดิน พืชกลุมนี้นอกจากจะชวยเพิ่มความอุดมสมบูรณของดินแลว ยังชวยปองกัน

                  การชะลางพังทลายของดิน พืชกลุมนี้จะเจริญเติบโตคลุมดินหนาแนนรวดเร็ว ใหอินทรียวัตถุและแรธาตุ
                  อาหารแกดินมาก พืชที่ชวยสรางดินควรมีลักษณะดังตอไปนี้

                                   1) ไดแกตระกูลถั่วชนิดตางๆ หรือพืชตระกูลหญาซึ่งเมื่อปลูกพืชพวกนี้แลวจะเพิ่มความ

                  อุดมสมบูรณของดินโดยเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุและธาตุไนโตรเจนแกดิน

                                2) พืชพวกนี้จะใหการคลุมดิน แมในขณะที่พืชยังมีอายุนอย
                                3) พืชพวกนี้ตองการไถพรวนดินนอย ดังนั้น ดินจึงไมถูกรบกวนบอยๆ

                                4) มีระยะการเจริญเติบโตสูงสุดพอดีกับเวลาที่มีฝนตกมาก

                                5) เปนพืชที่มีการเจริญเติบโตแบบใกลชิดกันและมีการเจริญเติบโตแบบหนาแนน
                                6)  เศษเหลือของพืชเหลานี้ก็จะปกคลุมดินดวย

                                7)  มีระบบรากฝอยและหยั่งดินลึกไดดีพอสมควร

                                 (2) พืชที่ชวยอนุรักษดิน พืชกลุมนี้จะชวยรักษาปริมาณอินทรียวัตถุและปองกันการชะลางพังทลาย

                  ของดิน พืชที่จัดอยูในกลุมนี้ เมื่อปลูกแลวจะมีการรบกวนดินนอยที่สุด และตองการพรวนดินไมมากนักพืช
                  พวกนี้ไดแก ธัญพืช เชน ขาวสาลี ขาวไร ขาวฟาง ขาวโอด ขาวบารเลย และพืชอาหารสัตวตาง ๆ

                           (3) พืชทําลายดินหรือผลาญดิน พืชกลุมนี้จะใชอินทรียวัตถุ รวมทั้งอาหารพืชในดินหมดไปอยาง

                  รวดเร็ว เมื่อปลูกแลวตองการพรวนดินมากและบอยรั้งในระหวางการเจริญเติบโต และมักจะปลูกในระยะฝน
                  ตกมากดวย นอกจากนี้ เมื่อปลูกแลวจะดูดแรธาตุอาหารไปจากดินอยางเดียว เมื่อเก็บเกี่ยวจะนําซากและเศษ

                  พืชออกจากพื้นที่ปลูก ดังนั้น พืชในกลุมนี้จึงสนับสนุนใหเกิดการชะลางพังทลาย ทําใหอินทรียวัตถุและธาตุ

                  อาหารพืชสูญเสียไปจากดินโดยพืชดูดไปใชแลวยังสูญเสียไปเนื่องจากการชะลางพังทลายของดิน พืชใน

                  กลุมนี้ไดแก ขาวโพด ออย ยาสูบ มันสําปะหลัง มันฝรั่ง ผักตาง ๆ เปนตน และลักษณะของพืชผลาญดินจะมี
                  ดังนี้

                                1)  พืชมีการเจริญเติบโตแบบมีลําตนตั้งตรง เพราะฉะนั้นการปกคลุมดินจึงมีนอย

                                2)  มีรากที่ผิวดินนอยจึงไมสามารถยึดดินไดมากนัก
                                3)  เปนพืชที่ตองการพรวนดินหลายครั้ง รากที่ผิวดินอาจถูกทําลายและดินถูกชะลางไดงาย

                                4)  การไถพรวนดินของพืชกลุมนี้ จะทําใหมีการพังทลายของดินเกิดขึ้นมากที่สุดดวย

                                5) พืชกลุมนี้มักจะปลูกเปนแถวกวาง ๆ ทําใหเกิดการพังทลายของดินไดงายกวาพืชที่ปลูก

                  แถวชิดกัน
                           ประเภทและชนิดการปลูกพืชหมุนเวียน  การแบงชนิดของการปลูกพืชหมุนเวียนโดยอาศัย

                  ความสามารถในการอนุรักษดินและน้ํา ตลอดจนการปรับปรุงบํารุงดิน ซึ่งสามารถแบงออกได 2 ชนิด คือ

                            (1)  Destructive  crop  rotation  system คือการปลูกพืชหมุนเวียนที่นํามาปฏิบัติแลวจะทําใหความ
                  อุดมสมบูรณของดินและความสามารถในการใหผลผลิตของดิน (Soil  productivity) ลดลง พืชที่ปลูกใน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125