Page 122 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 122

117

                  พืช C    และตองการแสงสวางมากเปนพืชหลัก แลวปลูกแซมดวยถั่วเหลือง ซึ่งเปนพืช C  และตองการแสง
                                                                                             3
                       4
                  สวางนอยกวา แตอยางไรก็ตาม การปลูกพืชแซมทําใหมีความหนาแนนของพืชตอพื้นที่มีมากขึ้น เชน พื้นที่
                  ใบพืชมีมากขึ้น จึงปกคลุมดินไดทั่วถึง ปองกันมิใหแสงแดดสองถึงพื้นดินได เปนการควบคุมวัชพืชและ

                  พลังงานแสงแดดถูกใชเปนประโยชนมากขึ้น เชน การปลูกขาวโพดแซมดวยถั่วเขียว ทําใหพืชใชแสงแดดได

                  เปนประโยชนสูงขึ้น 50 เปอรเซ็นต เมื่อขาวโพดอายุ 30 วัน และประมาณ 46 เปอรเซ็นต เมื่อขาวโพดอายุ 63
                  วัน ถาเปรียบเทียบกับการปลูกขาวโพดอยางเดียว

                           (2) คารบอนไดออกไซด  การปลูกพืชรวมกันทําใหพืชใชแกสคารบอนไดออกไซด ในขบวนการ

                  สังเคราะหอาหารอยางมีประสิทธิภาพ ยังไมมีรายงานวาพืชมีการแขงขันและแยงกาซคารบอนไดออกไซดใน

                  ขบวนการสังเคราะหอาหาร แตมีรายงานวา พืชที่มีลําตนสูงจะชวยบังลมทําใหพืชตนเตี้ยมีการเจริญเติบโตได
                  ดี เชน การปลูกถั่วเหลืองที่มีขาวโพด ซึ่งชวยบังลมทําใหถั่วเหลืองมีผลผลิตเพิ่มขึ้นประมาณ 25 เปอรเซ็นต

                           (3)  ความอุดมสมบูรณของดิน  การปลูกพืชแซมทําใหที่ดิน ธาตุอาหารที่มีอยูในดิน ความชื้นและ

                  ปุยที่ใสเพิ่มลงไปในดิน ถูกใชอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม การปลูกพืชแซมก็มีผลตอความสมดุลของ

                  แรธาตุอาหารและความชื้นที่พืชดูดมาใช ทําใหผลผลิตของพืชหลักหรือพืชแซมลดลง แตมีรายไดเฉลี่ยการ
                  ขายผลผลิตเพิ่มขึ้น

                           (4) ปจจัยอื่นๆ เชน การจัดการไรนา การจัดระยะเวลาปลูก และระยะปลูกของพืชหลักและพืชแซม

                  ซึ่งมีผลตอผลผลิตของพืชหลักและพืชแซม    นอกจากนี้พืชบางชนิดสามารถปลดปลอยสารพิษออกมาจาก
                  สวนตางๆ ของพืช ซึ่งมีผลตอการงอกและการเจริญเติบโตของพืชแซม เชน ยูคาลิปตัส  และสนประดิพัทธ

                  ใบของพืชเหลานี้จะปลดปลอยสารพิษซึ่งมีผลตอการงอกของพืชแซม และมีรายงานวา แตงกวา และทอ จะ

                  ปลอยสารพิษออกจากราก ซึ่งจะยับยั้งการเจริญเติบโตของพืชที่ปลูกรวม (Palaniappan, 1985)
                           11.2.5. การปลูกพืชเหลื่อมฤดู (Relay cropping system) หมายถึง การปลูกพืชตอเนื่องคาบเกี่ยวกัน

                  โดยการปลูกพืชที่สอง (Relay  crop) ระหวางแถวของพืชแรก ในขณะที่พืชแรกใหผลผลิตแลวแตยังไมแก

                  เต็มที่ สวนใหญการปลูกพืชเหลื่อมฤดูนี้ จะไมมีการไถพรวนและเตรียมดิน การปลูกพืชเหลื่อมฤดูก็เพื่อ
                  ตองการใชเวลา ความชื้นและปุยที่ตกคางอยูในดิน ขณะที่พืชแรกรกการเก็บเกี่ยวใหเปนประโยชนกับพืชที่

                  จะปลูกตามมาใหทันกับฤดูกาล นอกจากนี้ พืชแรกจะทําหนาที่เหมือนพืชพี่เลี้ยงใหกับพืชที่ปลูกตามมา

                  กลาวคือ ชวยเปนรมเงาและรักษาความชื้นมิใหระเหยไปจากดินไดมาก อนึ่ง คําวา Relay cropping นี้ ผูเขียน

                  บางทานอาจแปลวาการปลูกพืชตอเนื่อง หรือการปลูกพืชแทรก ซึ่งก็มีความหมายและวิธีการปฏิบัติ
                  เชนเดียวกับการปลูกพืชเหลื่อมฤดูทุกประการ  ความสําคัญของระบบการปลูกพืชเหลื่อมฤดูที่มีตอการ

                  อนุรักษดินและน้ํา

                           (1) ชวยลดการไถพรวนดิน  โครงสรางของดินไมถูกรบกวน เพราะไมมีการไถพรวนและเตรียมดิน

                  บอยครั้ง  เพื่อปลูกพืชพืชที่สอง จึงชวยอนุรักษดินและน้ํา
                           (2) ลดจํานวนวันที่หนาดินวางเปลาโดยไมมีพืชปกคลุมดิน จึงชวยรักษาความชื้น ลดการชะลาง

                  พังทลายของดิน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127