Page 50 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 50

39


                         คูรับน้ ารอบเขา เป็นการท าคูรับน้ าตามแนวระดับขวางความลาดเทเว้นช่วงเป็นระยะๆ ประมาณ 10-12
                  เมตร และมีความกว้างคูน้ าแบบผนังด้านนอกเอียงเข้า 2 เมตร ใช้ส าหรับปลูกพืชไร่ได้ในสภาพพื้นที่มีความลาดเท

                  ไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์ หากใช้ปลูกกาแฟหรือไม้ผลใช้ได้ในสภาพพื้นที่ลาดเทสูงถึง 50 เปอร์เซ็นต์ (การอนุรักษ์ดิน
                  และน้ าบนพื้นที่ลาดเท, 2556)
                         บ่อดักตะกอน (Sediment trap or sand trap) เป็นบ่อขนาดเล็ก ที่สร้างขึ้นเพื่อดักตะกอนที่ไหลมาตาม
                  ทางระบายน้ าก่อนลงสู่บ่อน้ าประจ าไร่นา (นิวัติ,  2556)

                         ทางล าเลียงในไร่นา (Farm road ) หมายถึงทางล าเลียงที่สร้างโดยการท าคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6ให้มี
                  ขนาดใหญ่ขึ้น ส าหรับใช้เป็นทางล าเลียงผลิตผลการเกษตรสู่ตลาด มีวัตถุประสงค์เพื่อความสะดวกในการขนส่ง
                  ผลิตผลจากพื้นที่เกษตรสู่ตลาด และเพื่อเป็นถนนให้เครื่องจักรกลเข้าท างานในพื้นที่เพาะปลูก (มาตรการอนุรักษ์
                  ดินและน้ า, 2556)

                         น้ ามีความส าคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตและระบบการเกษตร โดยบนพื้นที่สูงส่วนใหญ่อาศัยน้ าฝนส าหรับท า
                  การเกษตรเพียงอย่างเดียว เนื่องจากสภาพพื้นที่มีแหล่งน้ าไม่เพียงพอส าหรับท าการเกษตรได้ ท าให้การเพาะปลูก
                  พืชจะจ ากัดอยู่ในช่วงฤดูฝนเท่านั้น เนื่องจากในฤดูอื่นบนพื้นที่สูงจะมีปริมาณน้ าน้อยไม่เพียงพอ นอกจากจะมีการ
                  สร้างบ่อเก็บน้ าหรือระบบชลประทานเข้าไปยังพื้นที่การเกษตรนั้นๆ เพื่อให้มีการกักเก็บน้ าในปริมาณที่มากพอจึง

                  จะสามารถท าการเพาะปลูกพืชได้ตลอดทั้งปี แหล่งน้ าจึงเป็นปัจจัยที่ส าคัญส าหรับการท าการเกษตรบนพื้นที่สูง
                  (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2544)


                  3.10 ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                         ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (Soil fertility) คือความสามารถของดินที่จะให้ธาตุอาหารที่จ าเป็นต่างๆ ในรูป
                  ที่เป็นประโยชน์แก่พืชในปริมาณที่เพียงพอมีสัดส่วนเหมาะสมและสมดุลต่อความต้องการของพืชนั้นๆ ความอุดม
                  สมบูรณ์ของดินจึงเป็นสถานภาพของดินที่ส าคัญต่อการผลิตพืช เนื่องจากมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช
                  เป็นอย่างยิ่ง องค์ประกอบของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืช พืชส่วนใหญ่มักจะเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีความร่วนซุย

                  มีปริมาณน้ า อากาศ และธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอย่างเพียงพอ ดินที่เหมาะส าหรับการปลูกพืชโดยทั่วไป
                  จึงมีสัดส่วนขององค์ประกอบที่เป็นของแข็งที่ได้มาจากการสลายตัวของหินและแร่ อันเป็นแหล่งที่มาของธาตุอาหาร
                  พืช และอินทรียวัตถุที่ได้มาจากการสลายตัวของเศษซากสิ่งมีชีวิต อยู่รวมกันประมาณครึ่งหนึ่งของปริมาตรทั้งหมด

                  ส าหรับส่วนที่เหลืออีกครึ่งหนึ่งจะเป็นที่อยู่ของน้ าและอากาศ ซึ่งจะแทรกอยู่ตามช่องว่างเล็กๆ ในดิน โดยช่องว่าง
                  เหล่านี้เกิดขึ้นมาจากการเรียงตัวเกาะยึดกันของอนุภาคขนาดต่างๆ ในดิน สภาพของดินที่เหมาะสมต่อการ
                  เจริญเติบโตของพืช จ าเป็นต้องมีน้ าและอากาศในดินในปริมาณที่สมดุลกัน ดินที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกพืช
                  ในดินทั้งหมด 100 ส่วน ควรจะมีส่วนที่เป็นของแข็ง 50 ส่วน แบ่งเป็น อินทรียวัตถุประมาณ 45 ส่วน อินทรียวัตถุ

                  5  ส่วน และส่วนของช่องว่าง 50  ส่วน ซึ่งประกอบด้วยน้ า 25  ส่วน และอากาศอีก 25  ส่วน หรือมีสัดส่วนของ
                  อินทรียวัตถุ: อินทรียวัตถุ: น้ า: อากาศ เท่ากับ 45:5:25:25 (มุกดา, 2544)
                         ความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นสภาพความเหมาะสมของดินที่จะใช้ปลูกพืชชนิดหนึ่งชนิดใดให้เจริญเติบโต
                  และให้ผลผลิตได้ดี พืชต่างชนิดกันอาจจะต้องการความอุดมสมบูรณ์ของดินต่างกัน ความอุดมสมบูรณ์ของดินถูก

                  ก าหนดจากเกณฑ์ต่างๆ คือ ความสามารถที่จะปลดปล่อยธาตุอาหารที่จ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชได้สูง
                  คุณสมบัติทางกายภาพต่าง ๆ ของดินเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช การมีหรือไม่มีสารประกอบอินทรีย์และ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55