Page 55 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 55

44


                                พื้นที่ท าการเกษตรของพื้นที่เป้าหมายที่จะจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าจึงเป็นพื้นที่ปลูกพืชไร่ ไม้
                  ยืนต้นที่ไม่มีมาตรกรอนุรักษ์ดินและน้ าโยเฉพาะพื้นที่ปลูกพืชไร่ และไม้ยืนต้นอายุน้อย เช่น ยางพาราที่ปลูกใหม่

                  สามารถก่อสร้างมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าได้ ส่วนไม้ยืนต้นที่อายุมากไม่สามารถก่อสร้างได้แต่ปริมาณการสูญเสีย
                  ดินลดลงแล้วเนื่องจากทรงพุ่มของไม้ยืนต้นคลุมดินได้เกือบทั้งหมด เช่น ยางพาราที่อายุมากกว่า 3 ปี ขึ้นไป

                  4.3 การถือครองที่ดิน

                         เกษตรกรที่ร่วมโครงการทั้งหมด 31 ราย มีแผนที่การถือครองที่ดินท ากินทุกราย โดยมากที่สุด 20 ไร่ น้อย
                  ที่สุด 3 ไร่ พื้นที่เป้าหมายไม่อยู่ในเขตป่าไม้ถาวร และเป็นพื้นที่ไม่อยู่ในชั้นคุณภาพลุ่มที่ก าหนดไว้เป็นเขตหวงห้าม
                  (ชั้นคุณภาพลุ่มน้ า ชั้นที่ 1-3) จากการตรวจสอบร่วมกับกรมฯ ในการคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายก่อนด าเนินงาน


                  4.4 การก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                         เริ่มด าเนินงานตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2555 สิ้นสุดเดือน กันยายน 2556 หลังจากสถานีพัฒนาที่ดินน าแผนที่
                  งานจัดระบบฉบับร่างเข้าตรวจสอบในพื้นที่จริง และน าเสนอต่อที่ประชุมเกษตรกรในพื้นที่โครงการ จ านวน 31
                  ราย ให้เกษตรกรพิจารณาและปรับปริมาณงาน จากนั้นได้ขอมติจากที่ประชุมให้สถานีพัฒนาที่ดินเข้าด าเนินงาน ซึ่ง

                  เกษตรกรให้ความเห็นชอบ เมื่อเกษตรกรให้ความเห็นชอบ ได้ส่งแผนที่ที่ปรับปรุงแล้ว ให้กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน
                  เพื่อจัดท าแผนที่งานจัดระบบฉบับจริง น าเสนอขอเงินงบประมาณตามขั้นตอน เมื่อได้รับงบประมาณจึงได้
                  ด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างการก่อสร้างงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในเดือนมกราคม  2556 จากนั้นด าเนินงาน

                  ก่อสร้างงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                                4.4.1 การก่อสร้างคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6  โดยการจ้างแรงงานปฏิบัติงานสนาม เป็นการ
                  ก่อสร้างคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6  (คูรับน้ าขอบเขา Hill side ditch) เป็นการขุดเคลื่อนย้ายดินโดยเริ่มขุดจาก
                  จุดกึ่งกลางของระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเข้าด้านใน จนถึงแนวไม้หลักที่ปักไว้ท าการเคลื่อนย้ายดินมาถมที่ต่ าด้าน
                  นอกท าเป็นที่ราบขั้นแคบๆ ให้มีความลาดเทกลับเข้าด้านในประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์  แบบไม่ต่อเนื่องกัน และยาว

                  ไปตามแนวระดับของพื้นที่ มีความกว้างของพื้นที่ราบคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6 ประมาณ 1.5  เมตร และ
                  ระยะห่างของคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6แต่ละขั้น   8 – 10 เมตร ผันแปรไปตามความลาดชันของพื้นที่ ตัดความ
                  ยาวของความลาดชันของพื้นที่ให้มีช่วงสั้นๆเพื่อลดความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินจากปริมาณน้ าไหล

                  บ่าหน้าดิน และใช้พื้นที่ระหว่างคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6เป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชรวมก่อสร้างคันคูรับน้ ารอบเขา
                  แบบที่ 6 จ านวน 25 กิโลเมตร











                                                ภาพที่ 4.2 การก่อสร้างคันคูรับน้ ารอบเขาแบบที่ 6
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60