Page 48 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 48

37


                                S factor ค่าปัจจัยความลาดเอียง (Slope steepness factor) เป็นค่าตัวเลขไม่มีหน่วยอาจมีค่า
                  น้อยกว่า 1 หรือมากกว่า 1 ได้ ค่านี้เป็นสัดส่วนการสูญเสียดินของความลาดเอียงหนึ่ง เปรียบเทียบกับของแปลง

                  ทดลองมาตรฐาน ในสภาพแวดล้อมอื่น และชนิดของดินที่เหมือนกันส าหรับแปลงทดลองมาตรฐาน ที่มีความลาด
                  ชัน 9 เปอร์เซ็นต์  S factor มีค่าเท่ากับ 1 (ปทุมพร, 2556)
                                น้ าไหลบ่าบนผิวดิน (Surface runoff) หมายถึง ปริมาณน้ าทั้งหมดที่ไหลจากผิวพื้นดินลงสู่ร่องน้ า
                  ล าห้วย หรือล าคลอง น้ าไหลบ่าบนผิวดินก็คือ น้ าฝนที่ตกลงมาบนพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งแล้วถูกซึมซับลงในดินพืชดูดไป

                  ใช้ถูกเก็บกักไว้ในพื้นที่หรือระเหยไปในอากาศ น้ าที่เหลือจากขบวนการต่างๆแล้วไหลลงสู่ร่องน้ า ล าห้วย หรือล า
                  คลอง ก็คือน้ าไหลบ่า อัตราและปริมาณของน้ าไหลบ่าจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน เช่น
                  ความรุนแรง ปริมาณ และทิศทางของฝนที่ตกมา ลักษณะความลาดเทและการเก็บกักน้ าบนพื้นผิวของพื้นที่ ฯลฯ
                  หลักการส าคัญของการอนุรักษ์ดินและน้ าในไร่นา ก็คือ การเก็บกักน้ าไหลบ่าบนผิวดินไว้ในที่ต้องการ เพื่อให้เกิด

                  ประโยชน์สูงสุด ในขณะเดียวกันต้องระบายน้ าที่มากเกินความต้องการไปทิ้งในที่ควบคุมได้โดยไม่ให้เกิดความ
                  เสียหายกับพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกัดเซาะพังทลายของหน้าดิน
                                        การประเมินน้ าไหลบ่า โดย Rational method
                                               อัตราของไหลบ่า (q)

                                                  สูตร q = CiA …………………………………สมการ (2)
                                                          360
                                               ในที่นี้ q = อัตราของน้ าไหลบ่าสูงสุดมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที

                                                                    C = สัมประสิทธิ์ของนาไหลบ่า
                                                                     i = ความรุนแรงของน้ าฝนมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรต่อชั่วโมง
                                                                    A = พื้นที่ของบริเวณรับน้ า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์
                                                                   หมายเหตุ ถ้าแปลงสูตรให้พื้นที่มีหน่วยเป็นไร่จะได้สูตรดังนี้ คือ
                                                                   สูตร q =       CiA       ลูกบาศก์เมตร/วินาที

                                                                                 360×6.25
                                                        ปริมาณของน้ าไหลบ่า (Q)
                                                 สูตร Q = CI …………………………………สมการ (3)

                                               ในที่นี้ Q = ปริมาณน้ าไหลบ่า มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                                                                C = สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า
                                                                 I = ปริมาณน้ าฝนมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร
                                                                     หมายเหตุ ในกรณีที่ต้องการหาปริมาณน้ าไหลบ่าในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งให้

                  เอาพื้นที่มีหน่วยเป็นเฮกตาร์คูณกับปริมาณนาไหลบ่าจะได้เป็นปริมาตรน้ าไหลบ่ามีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร
                  (ไชยสิทธิ์, 2556)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53