Page 54 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 54

43

                                                              บทที่ 4
                                                            ผลการศึกษา


                  4.1 สภาพปัญหา
                         การด าเนินการตามขั้นตอน โดยก่อนด าเนินงานได้การประชุมชี้แจงเกษตรกรถึงวัตถุประสงค์ของการ
                  ด าเนินงานในพื้นที่บ้านห้วยแล้ง โดยให้เกษตรกรในพื้นที่แสดงความคิดเห็น และเสนอปัญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการ

                  ใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งสามารถสรุปปัญหาได้ดังนี้
                                4.1.1 ปัญหาการชะล้างพังทลายของดินในฤดูฝน ดินเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                                4.1.2 ปัญหาขาดแคลน น้ าในช่วงฤดูแล้ง และน้ าท่วมฉับพลันในช่วงฤดูฝน
                                จากปัญหาที่เกษตรกรน าเสนอพบว่า เนื่องจากพื้นที่ เป็นพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนชัน  ความลาดชัน

                  จนถึงภูเขาสูงชัน ความลาดชัน 12 – 35 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีฝนตกจะเกิดการชะล้างพังทลายของดิน น้ าจะชะเอา
                  หน้าดินลงมาท าให้ดินเสื่อมโทรม ตะกอนดินจะไหลลงมาทับถมแหล่งน้ าและทางล าเลียง ท าให้ไม่สะดวกในการ
                  ขนส่งผลผลิตทางการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง การใช้ประโยชน์ที่ดินไม่มีการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ า แนวทางการแก้ไขปัญหา สถานีพัฒนาที่ดินได้วิเคราะห์ปัญหาของพื้นที่ที่เกษตรกรน าเสนอ จากนั้นวางแผน

                  การด าเนิน กิจกรรม คือ กิจกรรมจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า













                                 ภาพที่ 4.1 การตรวจสอบสภาพพื้นที่ และการประชุมขี้แจงข้อมูลให้เกษตรกร

                  4.2 สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                         จากการส ารวจดินในพื้นที่ทั้งหมด 510 ไร่ การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประกอบด้วย

                                4.2.1 นาข้าวมีพื้นที่ 5 ไร่ หรือร้อยละ 0.58
                                4.2.2 พืชไร่มีพื้นที่ 318 ไร่ หรือร้อยละ74.71 ได้แก่ ไร่ร้าง ข้าวโพด มันส าปะหลัง ข้าวไร่ และขิง
                                4.2.3 พืชไร่ผสมไม้ยืนต้นมีพื้นที่ 40 ไร่ หรือร้อยละ 7.84 ได้แก่ ข้าวโพดผสมยางพารา และข้าว
                  ไร่ผสมยางพารา

                                4.2.4 ไม้ยืนต้นมีพื้นที่ 84 ไร่ หรือร้อยละ 16.47 ได้แก่ ยางพารา
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59