Page 46 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 46

35


                  อิทธิพลจากเม็ดฝนและน้ าไหลบ่า ซึ่งจะพัดพาเอาอนุภาคดินไปตามความรุนแรงของกระแสน้ าไหลลงสู่แหล่งน้ า
                  ต่างๆ และเมื่อความเร็วของกระแสน้ าลดลง จะท าให้เกิดการตกตะกอนตามแหล่งน้ าเช่น บริเวณปากแม่น้ า บริเวณ

                  ที่แม่น้ าสองสายมาบรรจบกัน ท าให้พื้นที่บริเวณดังกล่าวเกิดเป็นดินดอน ล าน้ าตื้นเขิน ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขุด
                  ลอกเป็นจ านวนมาก (สมชาย, 2530)

                  3.7 ปริมาณการสูญเสียดินและน้ าไหลบ่า

                         ขบวนการกร่อนของดิน (Soil erosion) ขบวนการกร่อนของดิน เริ่มต้นจากเม็ดฝนตกลงมากระแทกพื้นผิว
                  ดิน แรงกระแทกของเม็ดฝนท าให้อนุภาคดินแตกกระจาย มีขนาดเล็กลง ถูกพัดพาเคลื่อนย้ายไปกับน้ าไหลบ่าได้
                  ง่าย  เมื่อพื้นที่มีสภาพเป็นร่องต่ า น้ าจะไหลมารวมกันได้ มีปริมาณน้ ามากขึ้น พลังกัดเซาะดินมีมากขึ้น ยิ่งน้ าไหล
                  รวมตัวกันได้มาก การกัดเซาะพัดพาอนุภาคดินจะรุนแรงขึ้นมากกลายเป็นร่องน้ าเล็ก ๆ เรียกว่า ร่องริ้ว หรือริ้ว

                  (Rill) หรืออาจกัดเซาะพัดพาดินจ านวนมากไปได้ กลายเป็นร่องน้ าลึกใหญ่ เรียกว่าร่องทางน้ า ร่องธาร (Gully)
                  เป็นอุปสรรคในการท างานการไถพรวน พื้นที่ปลูกพืชเสียหาย และอาจทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น เกิดการกัดเซาะใหญ่
                  ลึกมากขึ้น สูญเสียพื้นที่ท ากิน การเดินทางสัญจรไม่สะดวกไม่ปลอดภัย หลังจากการกร่อน พื้นผิวดินมีลักษณะ
                  เปลี่ยนแปลงไป อนุภาคขนาดเล็กไหลลงไปตามช่องว่างในดิน เกิดการอุดตัน (Sealing)  และจับตัวแน่นเป็นแผ่น

                  แข็ง (Crusting)  ความสามารถในการให้น้ าซึมผ่านได้ลดลง ความชื้นในดินน้อยลง คงเหลือแต่อนุภาคขนาดใหญ่
                  เช่น หิน กรวด ทราย ลอยอยู่บนผิวหน้าดิน ส่วนอนุภาคขนาดเล็ก เช่น ดินเหนียว อินทรียวัตถุถูกพัดพาไป
                  หมดแล้ว

                         สมการสูญเสียดินสากล (USLE) ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ประเมินการกร่อนของดิน แบบ raindrop erosion
                  และ Sheet erosion โดยไม่ครอบคลุมการกร่อนแบบ rill, gully, stream และแบบอื่นๆ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2543)
                                A = R K L S C P……………………………….….สมการ (1)
                                ความหมายของค่าที่ใช้ในสมการ
                                        A คือ ค่าเฉลี่ยปริมาณดินที่สูญเสีย  (Soil loss) ของแปลงปลูกพืชต่อหน่วยพื้นที่ หน่วย

                  วัดเดิมเป็นตันต่อเอเคอร์ต่อปี ปัจจุบันใช้สมการที่แปลงหน่วยเป็นตันต่อเฮคแตร์ต่อปี
                                        R คือ ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (Rainfall and runoff erosivity factor) เป็นค่า
                  ความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ของเม็ดฝนที่ตกกระทบผิวหน้าดิน กับปริมาณความหนาแน่นของฝน ในช่วง

                  ระยะเวลาหนึ่ง หน่วยวัดที่ใช้มีหลายรูปแบบ มีหลายสมการ
                                        K คือ ค่าปัจจัยความคงทนของดิน (Soil erodibility factor)
                                        L คือค่าปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (Slope length factor)
                                        S คือค่าปัจจัยความลาดชัน (Slope steepness factor)

                                        C คือค่าปัจจัยพืชและการจัดการ (Crop management factor)
                                        P คือค่าปัจจัยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (Conservation practice factor)
                         ค่าของปัจจัยที่ใช้ใน USLE  เป็นตัวเลขทศนิยมที่มีจ านวนเต็มเท่ากับ 1 ยกเว้นปัจจัยน้ าฝน (R)  มีค่าเป็น
                  จ านวนหลักร้อยหรือหลักพัน ปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (L) และปัจจัยความลาดเท (S) ที่มีขนาดใหญ่กว่า

                  แปลงทดลองมาตรฐาน จะมีค่ามากกว่า 1 ทั้งสามปัจจัยนี้ เป็นตัวแปรส าคัญที่จะเป็นสาเหตุให้การประเมินการ
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51