Page 52 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 52

41


                  อินทรียวัตถุให้แก่ดิน ท าให้ดินจับตัวกันเป็นก้อนเล็กๆ ร่วนซุยไถพรวนง่ายระบายน้ าและอากาศได้ดีรากพืชก็จะ
                  เจริญเติบโตได้ดีทนทานต่อการชะล้างดีขึ้นดินอุ้มน้ าได้มากขึ้นและลดการระเหยน้ าออกจากดินดูดซับธาตุอาหารพืช

                  ไว้เป็นประโยชน์แก่พืชได้มากขึ้น ฯลฯ การปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดินมีหลายวิธี เช่น การใช้
                  ปุ๋ยคอก การใช้ปุ๋ยหมัก การใช้ปุ๋ยพืชสด การใช้พืชคลุมดิน ฯลฯ การปรับปรุงบ ารุงดินควรใช้หลายวิธีร่วมกันจะช่วย
                  ลดค่าใช้จ่ายลงได้และควรมีการปฏิบัติบ ารุงดินอย่างต่อเนื่องทุกปีเพื่อรักษาระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินให้สูงอยู่
                  เสมอเพื่อประโยชน์ต่อการผลิตพืชผลทางเกษตรในระยะยาวต่อไป (ความอุดมสมบูรณ์ของดินส าหรับปลูกพืช,

                  2556)

                  3.11 งานวิจัยเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่สูง
                         จากการศึกษาการจัดการพื้นที่ลาดชันเพื่อการเกษตรแบบยั่งยืนในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งได้

                  ด าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.  2533-2537  ณ พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงจังหวัดเชียงราย พบว่ามาตรการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ า โดยใช้แถบของกระถินผสมมะแฮะ (Alleycropping)  และมาตรการจัดท าคูรับน้ าขอบเขา (Hill  side
                  ditch) สามารถลดอัตราน้ าไหลบ่าได้ 52 และ 64 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ า (ปริมาณน้ าไหลบ่า 108 และ 79 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อปี เปรียบเทียบกับ 222.8 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อปี)

                  สามารถลดปริมาณการสูญเสียดินได้ 82 และ 94 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ า (ปริมาณการสูญเสียดิน 4.8 และ 1.5 ตันต่อไร่ต่อปี เปรียบเทียบกับ 27.4 ตันต่อไร่ต่อปี) และผลผลิตของ
                  ข้าวไร่ที่ปลูกในพื้นที่ที่มีการจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าทั้ง 2  มาตรการ ไม่แตกต่างกันกับวิธีการที่ไม่มี

                  มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า ถึงแม้จะมีการสูญเสียพื้นที่ไปบางส่วนในการจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า และ
                  จากการเปรียบเทียบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าโดยใช้แถบของกระถินผสมมะแฮะและคูรับน้ าขอบเขาพบว่า
                  ปริมาณน้ าไหลบ่าปริมาณการสูญเสียดินและผลผลิตของข้าวไร่จากทั้งสองมาตรการไม่แตกต่างกัน (ไชยสิทธิ์,
                  2538)
                         จากการศึกษาเปรียบเทียบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่ลาดชันสูง ซึ่งได้ด าเนินการตั้งแต่ปี  พ.ศ.

                  2544-2546  พบว่า มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า โดยการจัดท าขั้นบันไดไม้ผลแบบระดับ (Orchard  hill  side
                  terrace) การจัดท าคูรับน้ าขอบเขาแบบระดับ (Level hill side ditch) การจัดท าคูรับน้ าขอบเขาแบบลดระดับ
                  (graded hill side ditch) และการจัดท าแถบหญ้าแฝก (Vetiver grass strip) สามารถลดการสูญเสียดินได้ 91 91

                  69 และ 58 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (ปริมาณการสูญเสียดิน 220
                  237 778 และ 1,053 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี เปรียบเทียบกับ 2,502 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี) และผลผลิตของข้าวโพดที่
                  ปลูกในพื้นที่มีการจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า ในวิธีการต่างๆ จะไม่แตกต่างกันทางสถิติ ถึงแม้ว่ามาตรการ
                  อนุรักษ์ดินและน้ าที่ท าการศึกษา จะท าให้มีการสูญเสียพื้นที่ เพื่อจัดท ามาตรการฯ 13 ถึง 17 เปอร์เซ็นต์ และจะมี

                  ผลผลิตข้าวโพดน้อยกว่าวิธีการที่ไม่มีการเสียพื้นที่ เพื่อการจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า แต่จะมีผลผลิตน้อย
                  กว่าเพียง 7  ถึง 11  เปอร์เซ็นต์ เท่านั้น การจัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า จะมีผลดีต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                  ต่อเนื่องต่อไปในระยะยาว การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดยเฉพาะมาตรการวิธีกล สามารถใช้พื้นที่ที่สูญเสีย
                  ไปจากการท ามาตรการฯ น ามาปลูกไม้ผลอยู่บนระบบอนุรักษ์ฯได้อีก และการเจริญเติบโตของไม้ผล (ต้นพลับ)

                  ด้านต่างๆจะดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการที่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า การปลูกพืชไร่หรือพืชเศรษฐกิจอื่นๆ
                  ดังเช่น พืชผักและไม้ผลในพื้นที่ที่ได้จัดท ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า การปลูกพืชที่มีอายุสั้นและมีผลตอบแทนที่ดี
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57