Page 48 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 48
36
ภาพที่ 3.1 ขั้นตอนการท าปุ๋ยหมัก
6) การปฏิบัติและการดูแลรักษากองปุ๋ยหมัก
6.1) รดน้ ารักษาความชื้นในกองปุ๋ย รดน้ าให้กองปุ๋ยชุ่มอยู่เสมอ ให้มีความชื้น
ประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก
6.2) การกลับกองปุ๋ยหมัก ควรกลับกองปุ๋ยประมาณ 7-10 วันต่อครั้ง เพื่อเป็น
การระบายอากาศ เพิ่มออกซิเจนให้กับกองปุ๋ย และช่วยให้วัสดุคลุกเคล้าเข้ากัน
6.3) การเก็บรักษากองปุ๋ยหมักที่เสร็จแล้วไว้ในโรงเรือนหลบแดดและฝนซึ่งจะท า
ให้ธาตุอาหารพืชในปุ๋ยหมักสูญเสียไปได้
7) หลักการพิจารณาปุ๋ยหมักที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว
7.1) สีของเศษวัสดุพืช มีสีน้ าตาลเข้มจนถึงด า
7.2) ลักษณะของวัสดุเศษพืช มีลักษณะอ่อนนุ่ม ยุ่ย ขาดออกจากกันได้ง่าย
7.3) กลิ่นของวัสดุปุ๋ยหมักที่สมบูรณ์ จะไม่มีกลิ่นเหม็น
7.4) ความร้อนในกองปุ๋ย อุณหภูมิภายในและภายนอกกองปุ๋ยใกล้เคียงกัน
7.5) สังเกตเห็นการเจริญของพืชบนกองปุ๋ยหมัก
7.6) ค่าอัตราส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจน เท่ากับหรือต่ ากว่า 20 : 1
8) คุณสมบัติของปุ๋ยหมัก
8.1) ค่าอัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N ratio) ไม่เกิน 20 : 1
8.2) ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ระหว่าง 25-50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก
8.3) เกรดปุ๋ยไม่ต่ ากว่า 0.5–0.5–1.0 (เปอร์เซ็นต์ของ N P O K O)
2 5 2
8.4) ความชื้นของปุ๋ยหมักไม่เกิน 30–40 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก
8.5) ค่าการน าไฟฟ้าไม่เกิน 3.5 เดซิซีเมนต่อเมตร
8.6) ความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 6.0–7.5
8.7) ไม่มีวัสดุอื่นเจือปน