Page 45 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 45
33
(2) การใส่ปุ๋ยครั้งที่ 1 สูตรปุ๋ยที่แนะน าคือ 46-0-0 อัตรา 25-30 กิโลกรัมต่อไร่
ใส่เมื่อข้าวโพดมีอายุ 20-25 วันหลังปลูก ด้วยวิธีโรยข้างต้นในขณะดินมีความชื้นหรือให้น้ าตามหรือพูนโคน
กลบปุ๋ยเป็นการก าจัดวัชพืชไปในตัว
(3) การใส่ปุ๋ยครั้งที่ 2 เมื่อข้าวโพดมีอายุ 40-45 วันหลังปลูก ถ้าข้าวโพดแสดง
อาการใบเหลืองหรือต้นไม่สมบูรณ์ให้ใส่ปุ๋ย 46-0-0 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ โรยข้างต้น ในขณะดิน
มีความชื้นหรือให้น้ าตาม
2.4) การก าจัดวัชพืช การฉีดสารคุมวัชพืชประเภทก่อนงอก โดยใช้สาร
อะลาคลอร์ อัตรา 125-150 ซีซี ผสมน้ า 20 ลิตร (1 ไร่ ใช้น้ าประมาณ 80 ลิตร) ฉีดพ่นหลังจากการปลูก
ก่อนที่วัชพืชจะงอก ขณะฉีดพ่น ดินควรมีความชื้นเพื่อท าให้สารเคมีออกฤทธิ์ดีขึ้น เมื่อข้าวโพดอายุ 25-30
วัน หากมีวัชพืชขึ้นหนาแน่น ควรก าจัดออกโดยการใช้จอบถาก
2.5) การให้น้ า ระยะที่ข้าวโพดหวานขาดน้ าไม่ได้ คือ
(1) ระยะ 7 วันแรกหลังปลูก เป็นระยะที่ข้าวโพดก าลังงอก ถ้าข้าวโพดหวาน
ขาดน้ า ช่วงนี้จะท าให้การงอกไม่ดี จ านวนต้นต่อพื้นที่ก็จะน้อยลง จะท าให้ผลผลิตลดลงไปด้วย
(2) ระยะออกดอก เพราะจะมีผลท าให้การผสมเกสรไม่สมบูรณ์ การติดเมล็ดจะ
ไม่ดี ติดเมล็ดเป็นบางส่วนและไม่เต็มถึงปลายฝักขายได้ราคาต่ า โดยปกติถ้าเป็นพื้นที่ที่สามารถให้น้ าได้
ควรให้น้ าทุก 3-5 วัน ขึ้นกับสภาพต้นข้าวโพดและสภาพอากาศ แต่ช่วงที่ควรให้น้ าถี่ขึ้น คือ ช่วงที่ข้าวโพด
ก าลังงอกและช่วงออกดอก
2.6) การเก็บเกี่ยว ควรเลือกเก็บเกี่ยวในระยะที่มีน้ าตาลสูงที่สุดและคุณภาพดี
ที่สุด หรือระยะที่เรียกว่าระยะน้ านม หากเลยระยะนี้ไปแล้วปริมาณน้ าตาลจะลดลงและมีแป้งเพิ่มขึ้น
การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานมีหลักการพิจารณาง่ายๆ คือ
(1) นับอายุ ระยะ 16-20 วัน หลังข้าวโพดออกไหม 50% (ข้าวโพด 100 ต้น
ออกไหม 50 ต้น) แต่ถ้าปลูกในช่วงอากาศหนาวเย็น อายุการเก็บเกี่ยวอาจจะยืดออกไปอีก 7-10 วัน หรือ
(2) นับอายุหลังจากวันหยอดเมล็ด เช่น พันธุ์เบา อายุ 55-65 วัน พันธุ์ปานกลาง
อายุ 70-85 วัน พันธุ์หนักอายุตั้งแต่ 90 วันขึ้นไป
(3) เก็บสุ่มตัวอย่างในแปลงมาตรวจดู วิธีนี้แน่นอนและนิยมท ากันมากที่สุด
การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวาน ควรเก็บเกี่ยวในเวลาเช้าตรู่ และรีบส่งตลาดทันที ไม่ควรทิ้งไว้เกิน 24 ชั่วโมง
เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ าและความหวาน เพราะจะมีผลต่อคุณภาพของเมล็ดและน้ าหนักของฝักและจะท า
ให้น้ าตาลลดลง
3.2.5 ข้าวโพดหวานพันธุ์อินทรี 2 พัฒนามาจากการผสมกันระหว่างสายพันธุ์แท้ SSWI 114 กับ
สายพันธุ์แท้ KSei 14004 หรือ [(sh2 Syn 29 x KS 1) x Suwan 3(S)C4]-F4-S8-24-2-4-2-2 ศูนย์วิจัย
ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติได้เผยแพร่ให้เกษตรกรและโรงงานแปรรูปปลูกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยมี
ความต้องการเมล็ดพันธุ์ปีละประมาณ 25 ตัน สามารถน าไปปลูกได้ในพื้นที่ 25,000 ไร่
ลักษณะประจ าพันธุ์ ให้น้ าหนักฝักสดทั้งเปลือก 2,097 กิโลกรัมต่อไร่ น้ าหนักฝักสดปอกเปลือกที่ดี
1,422 กิโลกรัมต่อไร่ ให้เปอร์เซ็นต์เมล็ดที่ตัด 35 เปอร์เซ็นต์ มีความหวาน 15% brix มีความนุ่ม และ
รสชาติดี ฝักยาว 17 เซนติเมตร กว้าง 4.5 เซนติเมตร มี 14-16 แถว ต้านทานโรคทางใบ (โรคราสนิม
โรคใบไหม้แผลเล็ก โรคใบไหม้แผลใหญ่ และโรคไวรัสใบด่างอ้อย) มีเปลือกหุ้มฝักปิดมิดชิด เมล็ดไม่ยุบ
ตัวเร็ว คงความเต่งอยู่ได้ 2-3 วัน ฝักสีเหลือง ทรงกระบอก แถวเมล็ดเรียงตัวสม่ าเสมอ มีความสูงของต้น
198 เซนติเมตร (ภาควิชาพืชไร่นา, 2541)