Page 22 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 22

10




                  โรงงาน ซึ่งลักษณะทางการเกษตรสม่ าเสมอ ได้แก่ ขนาดของฝัก ความสูงของฝัก อายุออดดอกตัวผู้และ

                  วันออกไหม วันเริ่มเก็บเกี่ยวและช่วงเวลาการเก็บเกี่ยว ให้ผลผลิตและคุณภาพสูงกว่าพันธุ์ผสมเปิด

                  พร้อมทั้งมีความต้านทานต่อโรคราน้ าค้าง (บริษัทแปซิฟิก เมล็ดพันธุ์ จ ากัด, 2550)  และลักษณะของ
                  ข้าวโพดฝักอ่อนพันธุ์แปซิฟิก 283  มีรายละเอียดอื่นๆ ดังนี้ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)



                                น้ าหนักทั้งเปลือก (กิโลกรัม)                      2,350
                                น้ าหนักปอกเปลือก (กิโลกรัม)                       380

                                อัตราแลกเนื้อ                                      6:1

                                จ านวนฝักต่อต้น                                    2-3

                                สีฝัก                                              เหลือง
                                ความสม่ าเสมอของฝัก                                ดีมาก

                                ความยาวไหมขณะเก็บเกี่ยว (เซนติเมตร)                5-8

                                วันถอดดอกตัวผู้ (วัน)                              45-47
                                จ านวนวันหลังเก็บเกี่ยว (วัน)                      5-7

                                การต้านทานโรค                                      ดีมาก

                                คุณภาพรากและล าต้น                                 แข็งแรง


                                       2.8 อุตสาหกรรมข้าวโพดฝักอ่อนในประเทศไทย

                                       ตลาดข้าวโพดฝักอ่อนในประเทศไทยมีตลาดรองรับ 2 ประเภท คือตลาดภายในประเทศ

                  ผลผลิตที่ซื้อขายกันอยู่ในรูปฝักสด และตลาดต่างประเทศ ผลิตอยู่ในรูปฝักสดแช่แข็งและบรรจุกระป๋อง
                  ในระบบของการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนเพื่ออุตสาหกรรมประกอบด้วยบุคคล 3 กลุ่ม (กรมวิชาการเกษตร,

                  2547) ได้แก่

                                       1.  กลุ่มเกษตรกร เป็นกลุ่มผู้ผลิตวัตถุดิบเป็นกลุ่มพื้นฐานที่ต้องการเทคโนโลยีการผลิต
                  ใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อน

                                       2.  กลุ่มผู้รวบรวมผลผลิต ซึ่งเป็นกลุ่มพ่อค้าคนกลางที่มีความส าคัญท าให้กระบวนการ

                  ซื้อ-ขายด าเนินการไปได้   กลุ่มผู้รวบรวมผลผลิตที่มีความส าคัญต่อเกษตรกร คือคอยสนับสนุนเงินทุน

                  จัดหาเมล็ดพันธุ์และรับซื้อผลผลิตทั้งหมด รวมทั้งเป็นตัวแทนของโรงงานในการรวบรวมผลผลิตจาก
                  เกษตรกรมาป้อนโรงงาน

                                       3.  กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมบรรจุกระป๋องและพ่อค้าส่งออก เป็นกลุ่มผู้แปรรูปข้าวโพดฝักอ่อน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27