Page 23 - การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน กรมพัฒนาที่ดิน
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ล าดับที่ ประเภทของการคุกคามทางเพศ รูปแบบการกระท า
การสนทนาเรื่องเพศหรือเพศสัมพันธ์
การแสดงความคิดเห็นต่อรสนิยมทางเพศ
และการพูดที่ส่อไปในทางเพศ การถามเกี่ยวกับ
ประสบการณ์ความชื่นชอบในเรื่องเพศ
การสร้างเรื่องโกหก หรือการแพร่ข่าวลือเกี่ยวกับ
ชีวิตทางเพศของผู้อื่น
3 กระท าการด้วยอากัปกิริยาที่ส่อไป การจ้องมองร่างกายที่ส่อไปในทางเพศ
ในทางเพศ เช่น การใช้สายตา มองช้อนใต้กระโปรง มองหน้าอกหรือจ้องลง
ลวนลาม การท าสัญญาณ หรือ ไปที่คอเสื้อ จนท าให้ผู้ถูกมองรู้สึกอึดอัด อับอาย
สัญลักษณ์ใด ๆ เป็นต้น หรือไม่สบายใจ หรือผู้อื่นที่อยู่บริเวณดังกล่าว
มีความรู้สึกเช่นเดียวกัน เป็นต้น
4 การแสดงหรือสื่อสารด้วยวิธีการใด ๆ การแสดงรูปภาพ วัตถุ และข้อความที่
ที่ส่อไปในทางเพศ เช่น แสดงรูป เกี่ยวข้องกับเพศ รวมทั้งการเปิดภาพโป๊ในที่
ลามกอนาจาร ส่งจดหมาย ข้อความ ท างานและในคอมพิวเตอร์ของตน
หรือการสื่อสารรูปแบบอื่น เป็นต้น การแสดงออกที่เกี่ยวกับเพศ เช่น การโชว์
ปฏิทินโป๊ การเขียนหรือวาดภาพทางเพศ
ในที่สาธารณะ การใช้สัญลักษณ์ ที่แสดงถึง
อวัยวะเพศ หรือการร่วมเพศ การสื่อข้อความ
รูปภาพ สัญลักษณ์ ที่แสดงถึงเรื่องเพศ
ทางอินเทอร์เน็ต เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ฯลฯ เป็นต้น
5 การแสดงพฤติกรรมอื่นใดที่ส่อไป การให้สัญญาที่จะให้ผลประโยชน์ เช่น
ในทางเพศ ซึ่งผู้ถูกกระท าไม่พึง ต าแหน่งหน้าที่การงาน ผลการเรียน
ประสงค์หรือเดือดร้อนร าคาญ ทุนการศึกษาดูงาน การเลื่อนเงินเดือนหรือ
ต าแหน่ง การต่อสัญญาการท างาน หากผู้ถูกล่วง
ละเมิดหรือถูกคุกคามยอมมีเพศสัมพันธ์ เช่น
ขอให้ไปค้างคืนด้วย ขอให้มีเพศสัมพันธ์ด้วย หรือ
ขอให้ท าอย่างอื่นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ เป็นต้น
การข่มขู่ให้เกิดผลในทางลบต่อการจ้างงาน
การศึกษา การข่มขู่ว่าจะท าร้าย การบังคับให้มี
การสัมผัสทางเพศ หรือการพยายามกระท าช าเรา
หรือกระท าช าเรา