Page 40 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






















































                   ภาพที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นไนโตรเจนกับแคลเซียม (a) และฟอสฟอรัส (b) ความเข้มข้น
                   ฟอสฟอรัสกับแมกนีเซียม (c) และก่ามะถัน (d) รวมถึงความเข้มข้นแมงกานีสกับสังกะสี (e) และทองแดง (f) ใน

                   เหง้าขมิ้นชัน



                   4.2 ผลของอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสต่อความเข้มข้นธาตุอาหารในเหง้าขมิ้นชัน

                          จากการศึกษาผลของอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสต่อการสะสมธาตุอาหารในเหง้าขมิ้นชัน ช่วงระยะเก็บเกี่ยว
                   ผลผลิต พบว่า การดูดใช้ไนโตรเจนมีความแปรปรวน ต่ารับการทดลองที่ไม่ใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสส่งผลให้ต้นขมิ้นชันดูด

                   ใช้ไนโตรเจนมาสะสมในเหง้าสูงสุด 8.28 กรัมต่อกิโลกรัม ไม่แตกต่างกับการใช้ปุ๋ยอัตรา 9 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ มี
                                                                                                      2 5
                   การสะสมไนโตรเจน 7.78 กรัมต่อกิโลกรัม ในขณะที่ การใช้วิธีเกษตรกร และการใช้ปุ๋ยอัตรา 4, 13 และ 18

                   กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ไม่มีความแตกต่างของการสะสมไนโตรเจน แต่เมื่อเพิ่มปุ๋ยฟอสฟอรัสเป็น 22 กิโลกรัม P O
                                                                                                             2 5
                            2 5
                   ต่อไร่ ส่งผลให้การดูดใช้ไนโตรเจนลดลง (ภาพที่ 11a) ความแปรปรวนที่เกิดขึ้นอาจเนื่องจากอิทธิพลของความ
                   สมดุลของฟอสฟอรัสกับธาตุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของไนโตรเจน สอดคล้องกับ ลักษณะ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45