Page 41 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                   ความสัมพันธ์ระหว่างฟอสฟอรัสกับไนโตรเจนในเหง้าขมิ้นชันที่เป็นไปในลักษณะเส้นโค้ง (ภาพที่ 10b) ส่วน

                   โพแทสเซียม การใส่ปุ๋ยวิธีเกษตรกร ส่งผลให้มีการสะสมโพแทสเซียม ต่่ากว่า ต่ารับการทดลองอื่น ทุกต่ารับการ

                   ทดลอง (ภาพที่ 11a) เนื่องจากวิธีเกษตรกรใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมในอัตราต่่า ในขณะที่ ระดับในดินอยู่ในช่วงขาด

                   แคลน ชี้ให้เห็นว่า ขมิ้นชันมีการตอบสนองต่อการเพิ่มปริมาณโพแทสเซียมจากต่ารับการทดลองที่มีการปรับสมดุล
                   ธาตุอาหารในดิน อย่างไรก็ตาม ความเข้มข้นโพแทสเซียมเริ่มลดลงในต่ารับการทดลองที่ใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสอัตราสูง

                   18 และ 22 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ (ภาพที่ 11a) อาจเนื่องจากเป็นขีดจ่ากัดการตอบสนองต่อฟอสฟอรัสของต้น
                                       2 5
                   ขมิ้นชันจึงลดการดูดใช้โพแทสเซียม ทั้งนี้ ฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบของพลังงานที่ใช้การสังเคราะห์และ

                   เคลื่อนย้ายโมเลกุลต่าง ๆ ภายในเซลล์พืช ส่วนโพแทสเซียมท่าหน้าที่ล่าเลียงสารที่ได้ไปยังส่วนที่เกี่ยวข้อง

                   โดยเฉพาะการล่าเลียงแป้งและน้่าตาลไปสะสมบริเวณผลผลิต ธาตุทั้งสองจึงมีบทบาทส่งเสริมกัน (Rietra et al.,

                   2017) สอดคล้องกับ ความเข้มข้นฟอสฟอรัสที่ลดลง อยู่ในช่วงต่่าสุด 0.45 และ 0.38 กรัมต่อกิโลกรัม หลังใช้ปุ๋ย

                   ฟอสฟอรัสในอัตราดังกล่าว ตามล่าดับ ในขณะที่ การใช้ปุ๋ย 13 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ส่งผลให้มีความเข้มข้น
                                                                                   2 5
                   ฟอสฟอรัสในเหง้าสูงกว่าวิธีเกษตรกร 0.60 และ 0.50 กรัมต่อกิโลกรัม ตามล่าดับ (ภาพที่ 11b) ส่าหรับแคลเซียม

                   พบว่า มีการสะสมสูงสุด 1.90 และ 1.78 กรัมต่อกิโลกรัม ในต่ารับการทดลองที่ใช้วิธีเกษตรกรและใส่ปุ๋ยอัตรา 9

                   กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ตามล่าดับ และเมื่อเพิ่มอัตราปุ๋ยมากว่า 18 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ท่าให้การสะสมแคลเซียม
                                                                                  2 5
                            2 5
                   ลดลงเหลือ 1.38 กรัมต่อกิโลกรัม (ภาพที่ 11a) ชี้ให้เห็นถึง ผลกระทบจากขีดจ่ากัดการตอบสนองต่อฟอสฟอรัส

                   เช่นเดียวกับกรณีของโพแทสเซียม ส่วนแมกนีเซียม ในต่ารับการทดลองที่ใช้วิธีเกษตรกร มีความเข้มข้นต่่า 0.98
                   กรัมต่อกิโลกรัม เมื่อเปรียบเทียบกับต่ารับการทดลองอื่น โดยเฉพาะการใช้ปุ๋ย 4, 9 และ 18 กิโลกรัม P O  ต่อไร่
                                                                                                        2 5
                   ส่งผลให้มีการสะสมแมกนีเซียมในเหง้าสูงสุด 1.35, 1.38 และ 1.38 กรัมต่อกิโลกรัม ตามล่าดับ (ภาพที่ 11a)

                   ทั้งนี้ ความเข้มข้นฟอสฟอรัสและแมกนีเซียมในเหง้าขมิ้นชันมีความสัมพันธ์เชิงบวก (ภาพที่ 10c) อาจเนื่องจาก

                   ตามบทบาทหน้าที่ในกระบวนเมแทบอลีซึม แมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ ซึ่งจ่าเป็นใน

                   กระบวนการสังเคราะห์แสง ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการเมแทบอลิซึมระดับเซลล์ ในขณะที่ ฟอสฟอรัส
                   เป็นส่วนของพลังงานที่จ่าเป็นต้องใช้ในกระบวนการดังกล่าว นอกจากนี้ แมกนีเซียมท่าหน้าที่กระตุ้นการท่างาน

                   ของเอนไซม์คิเนส ซึ่งเร่งปฏิกิริยาการเคลื่อนย้ายหมู่ฟอสเฟตจาก ATP ไปยังโมเลกุลของสารอื่น (ยงยุทธ, 2552)

                   การดูดใช้ธาตุทั้งสองจึงมีส่วนส่งเสริมกัน ประกอบกับการเพิ่มฟอสฟอรัสในดินจะไปช่วยจับกับเหล็กและแมงกานีส

                   อยู่ในรูปที่ละลายน้่าได้น้อยลง จึงช่วยลดอันตรกิริยาเชิงลบที่มีผลยับยั้งการดูดใช้แมกนีเซียม (สุทธิ์เดชา และคณะ, 2563)

                   มีผลให้ต้นขมิ้นชันสามารถดูดใช้แมกนีเซียมได้เพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความเข้มข้นเหล็กและแมงกานีสในเหง้า

                   ขมิ้นชัน พบว่า การใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัสอัตราสูง ส่งผลให้การดูดใช้เหล็กและแมงกานีสมาสะสมในเหง้าลดลงอย่าง

                   เด่นชัด โดยเฉพาะกรณีของแมงกานีส การใช้ปุ๋ย 18 และ 22 กิโลกรัม P O  ต่อไร่ ส่งผลให้มีความเข้มข้น
                                                                                   2 5
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46