Page 35 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 35
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ภาพที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นสังกะสีกับฟอสฟอรัส (a) โพแทสเซียม (b) และแคลเซียม (c) ในใบ
ขมิ้นชัน
3.3 ผลของอัตราปุ๋ยโพแทสเซียมต่อความเข้มข้นธาตุอาหารในใบขมิ้นชัน
จากการศึกษาผลของอัตราปุ๋ยโพแทสเซียมต่อความเข้มข้นธาตุอาหารในใบขมิ้นชัน ประเมินจากใบที่
ขยายตัวเต็มที่ ในช่วงกลางฤดูปลูก พบว่า ทุกต่ารับการทดลองมีความเข้มข้นไนโตรเจนในใบไม่แตกต่างกัน อยู่
ในช่วง 17.20-19.50 กรัมต่อกิโลกรัม (ภาพที่ 8a) แสดงให้เห็นถึง ขีดจ่ากัดในการตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนของ
ขมิ้นชันเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีเกษตรกร หรือไนโตรเจนอาจมีการเคลื่อนย้ายไปสะสมในส่วนของเหง้า ในขณะที่
การใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมในทุกอัตรา และการใส่ปุ๋ยสูงกว่า 25 กิโลกรัม K O ต่อไร่ ส่งผลให้มีความเข้มข้น
2
โพแทสเซียมและแคลเซียมในใบต่่ากว่าการใช้วิธีเกษตรกร ตามล่าดับ (ภาพที่ 8a) อาจเนื่องจากการเพิ่มปุ๋ย
โพแทสเซียมรวมถึงธาตุอื่น ๆ ที่ใช้ยกระดับธาตุอาหารในดิน ส่งผลให้ต้นขมิ้นชันมีการตอบสนองต่อธาตุอาหารที่
ขาดจึงกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเมแทบอลิซึม ท่าให้มีการเคลื่อนย้ายโพแทสเซียมและแคลเซียมไปยังผลผลิต
อย่างรวดเร็วจึงเหลือความเข้มข้นในใบต่่า ทั้งนี้ โพแทสเซียมท่าหน้าที่ในการล่าเลียงแป้งและน้่าตาลไปสร้าง
ผลผลิต ส่วนแคลเซียมท่าหน้าที่สร้างความแข็งแรงให้แก่ท่อล่าเลียงน้่าและอาหาร (ยงยุทธ, 2552) นอกจากนี้
พบว่า ความเข้มข้นของแคลเซียมและแมกนีเซียมในใบเริ่มลดลง จาก 13.65 และ 4.55 กรัมต่อกิโลกรัม อยู่ที่
ระดับ 10.65, 5.28, 6.50, 4.30, 5.40 และ 3.25, 3.68, 2.93, 2.93, 2.35 กรัมต่อกิโลกรัม เมื่อมีการเพิ่มปุ๋ย