Page 32 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                   และไนโตรเจน ส่งผลให้ต้นข้าวสาลีดูดใช้ไนโตรเจนได้น้อยลง (Kumar et al., 1990) ทั้งนี้ ทองแดงมีบทบาทใน

                   การกระตุ้นเอนไซม์บางชนิดในพืชซึ่งเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ลิกนิน รวมถึงช่วยในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต

                   และโปรตีน การขาดแคลนทองแดงจึงจ่ากัดผลผลิต (Yruela, 2005) มีรายงานความเข้มข้นทองแดงที่เพียงพอใน

                   ใบพืชทั่วไป อยู่ในช่วง 5-30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Kalra, 1998) เมื่อพิจารณาจากผลการทดลอง ชี้ให้เห็นว่า การ
                   ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตราสูงสุด 45 กิโลกรัม N ต่อไร่ ส่งผลให้มีความเข้มข้นทองแดงในใบขมิ้นชัน 3.00 มิลลิกรัมต่อ

                   กิโลกรัม ซึ่งอยู่ในช่วงขาดแคลน ดังนั้น การใช้ปุ๋ยควรให้ความส่าคัญเรื่องความสมดุลของธาตุอาหาร

































                   ภาพที่ 4 ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจนต่อความเข้มข้น ไนโตรเจน โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียม (a)

                   ฟอสฟอรัส และก่ามะถัน (b) เหล็ก และแมงกานีส (C) สังกะสี และทองแดง (d) ในใบขมิ้นชัน T1 ใส่ปุ๋ยสูตร 15-

                   15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ T2-T7 ได้รับปริมาณ P O -K O-CaO-MgO-S อัตรา 11-50-1.4-1.4-2.5
                                                                      2 5 2
                   กิโลกรัมต่อไร่ เท่ากัน ns = ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนตัวอักษรที่ต่างกันแสดงถึงความแตกต่างทางสถิติ

                   (p≤0.05, HSD) SE = ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37