Page 29 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
แมกนีเซียมท่าหน้าที่กระตุ้นการท่างานของเอนไซม์คิเนส ซึ่งเร่งปฏิกิริยาการเคลื่อนย้ายหมู่ฟอสเฟตจาก ATP ไป
ยังโมเลกุลของสารอื่น (ยงยุทธ, 2552) ชี้ให้เห็นว่า เกษตรกรควรให้ความส่าคัญกับเรื่องสมดุลของธาตุอาหารใน
ดิน เพราะหากธาตุชนิดใดชนิดหนึ่งมีน้อยหรือมากเกินไป จะมีผลต่อความสามารถในการดูดใช้ธาตุอาหารชนิดอื่น
ของพืช
ภาพที่ 2 ผลของอัตราปุ๋ยฟอสฟอรัสต่อพีเอชดิน (a) ไนโตรเจนทั้งหมด (b) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (c)
โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และก่ามะถันที่สกัดได้ (d) T1 ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่
T2-T7 ได้รับปริมาณ N-K O-MgO-S อัตรา 23-50-1.4-0.8 กิโลกรัมต่อไร่ เท่ากัน ns = ไม่มีความแตกต่างทาง
2
สถิติ ส่วนตัวอักษรที่ต่างกันแสดงถึงความแตกต่างทางสถิติ (p≤0.05, HSD) SE = ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน
2.3 ผลของอัตราปุ๋ยโพแทสเซียมต่อสมบัติดินบางประการ
โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารที่พืชให้ผลผลิตหัวหรือเหง้าต้องการในปริมาณสูง เนื่องจากท่าหน้าที่ล่าเลียง
แป้งและน้่าตาลไปสะสมในส่วนดังกล่าว จากการศึกษาผลของอัตราปุ๋ยโพแทสเซียมต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติดิน
ในพื้นที่ขาดแคลนธาตุดังกล่าว ส่าหรับใช้ปลูกขมิ้นชัน โดยใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมอัตรา 0, 25, 50, 75, 100 และ 125
กิโลกรัม K O ต่อไร่ ตามล่าดับ เปรียบเทียบกับวิธีของเกษตรกร ซึ่งใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่
2
เมื่อวิเคราะห์สมบัติดินหลังการใส่ปุ๋ย พบว่า ระดับพีเอชดินทุกต่ารับการทดลองไม่มีความแตกต่างกัน (ภาพที่ 3a)
ชี้ให้เห็นว่า ระดับปุ๋ยโพแทสเซียมไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าพีเอชของดิน แต่มีผลให้ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามอัตราปุ๋ยโพแทสเซียม โดยเฉพาะการใส่ปุ๋ยอัตรา 50, 75, 100 และ 125 กิโลกรัม K O ต่อ
2
ไร่ ส่งผลให้ดินมีไนโตรเจนทั้งหมด 0.63, 0.64, 0.69 และ 0.75 กรัมต่อกิโลกรัม ตามล่าดับ สูงกว่าการใช้ปุ๋ยวิธี