Page 19 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              8




                                                                            -
                                                                  +
                   ประโยชน์ตํอพืช สํวนใหญํจะอยูํในรูปอนินทรีย์ เชํน NH  และ NO เป็นต๎น ไนโตรเจนทั้งสองรูปนี้ ราก
                                                                  4
                                                                           3
                   พืชสามารถดูดไปใช๎ประโยชน์ได๎ทันที (วิจิตร, 2552)
                                 ข๎าวที่ขาดไนโตรเจน  ใบจะมีสีเขียวจางหรือสีเหลือง  ใบแกํเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีน้ าตาล
                   อยํางรวดเร็ว การขาดไนโตรเจนจะเกิดขึ้นที่ใบแกํที่อยูํสํวนลํางของต๎นมากกวําใบยอด และใบจะรํวงกํอน
                   ก าหนด พืชจะมีการเจริญเติบโตช๎า ล าต๎นมีทรงพุํมเล็ก การแตกแขนงช๎า ให๎ผลผลิตต่ า คุณภาพลดลง พืชที่

                   ได๎รับไนโตรเจนมากเกินไปมีการเจริญเติบโตทางล าต๎นและใบมากท าให๎เกิดอาการเฝือใบ  สร๎างดอกผล
                   น๎อยลง มีล าต๎นอํอนแอ ล๎มงําย ความต๎านทานโรคและแมลงลดลง และให๎ผลผลิตต่ า (อภิพรรณ, 2541)
                   ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่ชํวยเรํงการเจริญเติบโตและการ แตกกอของข๎าว เป็นองค์ประกอบของเม็ดสีใน
                   เซลล์พืช  การขาดไนโตรเจนพบได๎ทั่วไป  โดยเฉพาะในดินนาเนื้อหยาบ  เชํน  ดินทรายในภาค

                   ตะวันออกเฉียงเหนือ หรือในดินที่ขาดการจัดการที่เหมาะสม  เป็นต๎น  ข๎าวที่ขาดไนโตรเจนจะพบที่ใบแกํ
                   หรือบางครั้งใบทั้งหมดเป็นสีเขียวอํอน  ปลายใบเหลือง  ถ๎าข๎าวขาดไนโตรเจนอยํางรุนแรงใบแกํจะตาย
                   เหลือเพียงใบอํอนที่มีลักษณะใบแคบ สั้นและตั้งตรง มีสีเขียวปนเหลือง ต๎นข๎าวแคระแกร็น แตกกอน๎อย
                   เมล็ดดีตํอรวงลดลง สํงผลท าให๎ผลผลิตข๎าวลดลงด๎วย (วิจิตร, 2552)

                              การเปลี่ยนรูปของไนโตรเจนในดิน เกิดจากปฏิกิริยาทางชีวภาพ (biological reaction) โดย
                   มีเอนไซม์หรือจุลินทรีย์เข๎ามาเกี่ยวข๎องอยูํด๎วย  การเปลี่ยนแปลงของไนโตรเจนที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ
                   แบํงเป็นขั้นตอนตําง ๆ ดังนี้ (อภิพรรณ, 2541)

                                  1) Aminization เป็นการเปลี่ยนรูปของไนโตรเจนในสารอินทรีย์รูปตําง ๆ ให๎เป็นเอมีน
                   (R-NH ) หรือกรดอะมิโน
                        2
                                  2)  Ammonification  เป็นการเปลี่ยนรูปของเอมีนไปเป็นรูปของแอมโมเนียหรือเกลือ
                                  +
                   แอมโมเนียม (NH )
                                 4
                                                                                           -
                                    3) Nitrification เป็นการเปลี่ยนรูปของแอมโมเนียมเป็นไนไตรท์ (NO ) และ
                                                                                          2
                              -
                   ไนเตรท (NO )
                              3
                                  4) Denitrification เป็นกระบวนการรีดักชัน (reduction) เปลี่ยนรูปของไนเตรท หรือ
                   แอมโมเนียมในดินไปเป็นแก๏สไนโตรเจน (N ) ไนตรัสออกไซด์ (N O) และไนตริกออกไซด์ (NO)
                                                                        2
                                                      2
                          5.2  ฟอสฟอรัส  เป็นธาตุอาหารจ าเป็นของพืช เพราะเป็นสํวนหนึ่งของสารประกอบที่เป็น
                   โครงสร๎างหลักของพืช และเป็นตัวชํวยในการแปลงปฏิกิริยาชีวเคมีที่ส าคัญจ านวนมากในพืช ฟอสฟอรัสมี
                   ความโดดเดํนโดยเฉพาะอยํางยิ่งการจับและเปลี่ยนพลังงานแสงให๎เป็นสารประกอบที่เป็นประโยชน์ในพืช
                   หน๎าที่ส าคัญ 2 ประการของธาตุอาหารฟอสฟอรัสที่มีตํอพัฒนาการและการผลิตพืชให๎เป็นไปอยํางปกติ คือ

                   เป็นสํวนประกอบที่จ าเป็นที่สุดของดีเอ็นเอ ซึ่งเป็น “memory unit” ทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
                   และยังเป็นสํวนประกอบของอาร์เอ็นเอ ซึ่งเป็นสารประกอบที่แปลรหัสพันธุกรรมดีเอ็นเอ เพื่อสร๎างโปรตีน
                   และสารประกอบอื่น ๆ  ที่จ าเป็นส าหรับโครงสร๎างพืช  สร๎างเมล็ด  และถํายโอนพันธุกรรม  นอกจากนี้
                   ฟอสฟอรัสเป็นสํวนประกอบที่จ าเป็นของเอทีพี ซึ่งเป็น “energy unit” ของพืช เอทีพีซึ่งถูกสร๎างในขณะ

                   เกิดการสังเคราะห์แสงมีฟอสฟอรัสในโครงสร๎างของมันและในกระบวนการตั้งแตํต๎นกล๎าจนถึงการสร๎าง
                   เมล็ด ดังนั้น ฟอสฟอรัสจึงจ าเป็นตํอความแข็งแรงของพืชทุกชนิด ธาตุฟอสฟอรัสมีประโยชน์ในการกระตุ๎น
                   พัฒนาการของราก เพิ่มความแข็งแรงของล าต๎น ชํวยในการสร๎างดอกและการผลิตเมล็ด พืชผลแกํเร็วและ
                   สม่ าเสมอมากขึ้น (วิจิตร, 2552)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24