Page 20 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              9




                                ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ตํอพืชที่อยูํในรูปที่ละลายน้ าได๎ คือ   โมโนไฮโดรเจน
                                 -
                                                                 2-
                   ฟอสเฟต (H PO ) และไดไฮโดรเจนฟอสเฟต  (HPO ) ฟอสฟอรัสในดินที่อยูํในรูปของโมโนไฮโดรเจน
                             2
                                                                4
                                 4
                   ฟอสเฟตและไดไฮโดรเจนฟอสเฟตจะมีความวํองไวในการท าปฏิกิริยากับองค์ประกอบอนินทรีย์ของดินให๎
                   กลายเป็นรูปที่ไมํเป็นประโยชน์แกํพืช  เรียกวํา  การตรึงฟอสเฟต  (P-fixation  หรือ  P-immobilization)
                   โดยปกติในดินกรด  ธาตุเหล็กและอลูมิเนียมจะท าปฏิกิริยากับฟอสฟอรัส กลายเป็นสารประกอบ
                   สลับซับซ๎อนที่ละลายได๎ยาก  สํวนในดินลํางแคลเซียมและแมกนีเซียมท าปฏิกิริยากับฟอสฟอรัสกลายเป็น
                   แคลเซียมและแมกนีเซียมฟอสเฟตที่ละลายได๎ยาก  ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินจึงเกิดขึ้น
                   ในชํวงที่ดินมีคําความเป็นกรดเป็นดํางเทํากับ 6.5-7.0 เทํานั้น เนื่องจากฟอสฟอรัสในดินมักท าปฏิกิริยากับ
                   ดิน และถูกดูดซับอยูํในดิน การเคลื่อนตัวของอนุมูลโมโนฟอสเฟตจึงมีน๎อยมาก ดังนั้น ฟอสฟอรัสจึงจัดเป็น

                   ธาตุเคลื่อนย๎ายได๎ยากในดิน  ซึ่งตรงข๎ามกับไนโตรเจน  คุณสมบัตินี้จึงชํวยปูองกันมิให๎มีการสูญเสีย
                   ฟอสฟอรัสไปจากดินได๎งําย (อภิพรรณ, 2541)
                                ข๎าวที่ขาดฟอสฟอรัส จะมีอาการแคระแกร็น แตกกอน๎อย ใบแคบ สั้น ตั้งตรงและมีสีเขียว
                   เข๎ม ล าต๎นผอมเรียว ข๎าวจะชะงักการเจริญเติบโต จ านวนใบ จ านวนรวงและจ านวนเมล็ดตํอรวงลดลง ใบ

                   อํอนสมบูรณ์ดี แตํใบแกํจะเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลและตายในที่สุด  ถ๎าพันธุ์ข๎าวที่ปลูกสามารถผลิตแอนโทไซ
                   ยานินได๎  ใบอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือสีมํวงในดินที่เป็นกรด การขาดฟอสฟอรัสมักจะเกิดรํวมกับภาวะ
                   เหล็กเป็นพิษ (อภิพรรณ, 2541)

                          5.3  โพแทสเซียม  เป็นธาตุอาหารที่พืชต๎องการในปริมาณมาก  นับเป็นธาตุอาหารที่มีประจุบวก
                   (แคทไอออน)  ที่พืชดูดใช๎เป็นปริมาณมากที่สุดในบรรดาแคทไอออนตําง ๆ  ความแตกตํางระหวําง
                   โพแทสเซียมกับธาตุอาหารหลักสองตัวแรก  (ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส)  คือ  โพแทสเซียมไมํเป็น
                   สํวนประกอบของโครงสร๎างเนื้อเยื่อพืช  เชํน ไนโตรเจนเป็นสํวนประกอบของโปรตีน ฟอสฟอรัสเป็น
                   สํวนประกอบของกรดนิวคลีอิก แตํโพแทสเซียมมีบทบาทส าคัญในกระบวนการทางสรีรวิทยาและชีวเคมีใน

                   พืช นับตั้งแตํการสังเคราะห์แสง การหายใจ การล าเลียงสารประกอบที่ได๎จากการสังเคราะห์แสง การสร๎าง
                   โปรตีนและน้ ามันในพืช และมีบทบาทในการเรํงปฏิกิริยา (catalysis) ของเอนไซม์ตําง ๆ  ดังนั้น  หากพืช
                   ขาดโพแทสเซียมจะท าให๎การเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง  นอกจากนี้โพแทสเซียมยังมีอิทธิพลตํอ

                   โครงสร๎างระดับอวัยวะพืชและเซลล์พืช เชํน เพิ่มการสร๎างผนังเซลล์ (cell wall) ท าให๎พืชต๎านทานโรคดี
                   ขึ้นและชํวยเพิ่มเซลล์ที่เก็บส ารองอาหารที่สังเคราะห์ (แปูงและน้ าตาล) ในเมล็ดธัญพืช เป็นต๎น (ปัทมา,
                   2543)
                               โพแทสเซียมในดินเกิดจากการสลายตัวของแรํ feldspar, mica และดินเหนียวพวก illite พบ
                                                                                   +
                   อยูํในรูปสารละลายในดินมากกวําฟอสฟอรัส รูปที่เป็นประโยชน์ตํอพืช คือ K ที่ละลายเป็นอิสระและรูป
                                                               +
                   ของโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได๎ (exchangeable K ) ซึ่งถูกดูดซับอยูํรอบ ๆ อนุภาคดินเหนียว หากจะ
                   แบํงโพแทสเซียมในดินออกเป็นรูปตําง ๆ  ตามความเป็นประโยชน์ตํอพืช  อาจแบํงได๎ดังนี้  (อภิพรรณ,
                   2541)

                                1) รูปที่เป็นประโยชน์ทันที (readily available form) คือ รูปที่อยูํในสารละลายดิน (soil
                             +
                   solution  K )  รวมทั้งรูปที่แลกเปลี่ยนได๎  ซึ่งถูกดูดซับอยูํรอบผิวของอนุภาคดินเหนียว  (exchangeable
                   K )
                    +
                                2) รูปที่เป็นประโยชน์ได๎ช๎า (slowly available form) คือ รูปที่ถูกตรึงอยูํระหวํางแผํนแรํ

                   ของอนุภาคดินเหนียวพวก illite vermiculite และแรํดินเหนียวชนิดอื่น ๆ ที่มีลักษณะผลึกแบบ 2:1 ซึ่ง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25