Page 16 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              5




                   ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ หรือธาตุอาหารที่มีอยูํเดิมในดิน เนื่องจากถํานชีวภาพมีคุณสมบัติเป็นดําง ดังนั้น

                   เมื่อใสํในดินจะท าให๎ความเป็นกรดเป็นดํางของดินเพิ่มขึ้น และนอกจากนี้ถํานชีวภาพยังให๎ธาตุอาหาร
                   ตําง ๆ แกํพืชได๎ ทั้งนี้ขึ้นอยูํกับชนิดของไม๎หรือวัสดุอินทรีย์ที่น ามาเผา (ทิพานันท์ และศิวพร, 2554;
                   อิสริยาภรณ์, 2552)
                              2)  คุณสมบัติของถํานชีวภาพที่มีผลตํอสมบัติทางกายภาพของดิน  การที่ถํานชีวภาพมีรู

                   พรุนมาก จะชํวยในการการกักเก็บน้ าและอาหารในดินได๎เป็นอยํางดี จึงท าให๎สามารถเพิ่มความอุดม
                   สมบูรณ์ให๎กับดินส าหรับการเพาะปลูก  และชํวยท าให๎ความหนาแนํนรวมของดินลดลง  (Steiner,
                   2009) รวมทั้งถํานชีวภาพยังท าให๎ดินโปรํง สามารถถํายเทอากาศได๎ดี (Islam, 1999) และเป็นที่อยูํ
                   ของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ ชํวยดูดซับธาตุอาหารพืชและปลดปลํอยธาตุอาหารให๎พืชอยํางช๎า ๆ

                              3) คุณสมบัติของถํานชีวภาพที่มีผลตํอสมบัติทางชีวภาพของดิน การใสํถํานชีวภาพเพื่อ
                   ปรับปรุงดิน ทั้งถํานชีวภาพและจุลินทรีย์ในดินจะมีสํวนสนับสนุนซึ่งกันละกัน กลําวคือ โครงสร๎างของ
                   ถํานชีวภาพที่เป็นรูพรุนจะชํวยเพิ่มพื้นที่ผิว ประกอบกับความเป็นดํางของถํานชีวภาพจะชํวยยกระดับ
                   ความเป็นกรดเป็นดํางของดินให๎สูงขึ้น เหมาะตํอการเจริญเติบโตและกิจกรรมของจุลินทรีย์มากขึ้น ใน

                   ขณะเดียวกันจุลินทรีย์ก็ท าให๎ถํานชีวภาพเกิดการเปลี่ยนสภาพได๎ ถึงแม๎วําถํานชีวภาพจะมีสารพวกอะ
                   โรมาติกซึ่งคงทนตํอการยํอยสลายมากกวําอินทรียสารที่ไมํได๎ผํานการเผาไหม๎ ด๎วยลักษณะรูพรุนและ
                   ขนาดของรูพรุนของถํานชีวภาพที่มีขนาดเล็กมากจึงเป็นที่อยูํอาศัยของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ เชํน

                   เชื้อแอคทิโนมัยซิส (Actinomyces) ไตรโคเดอร์มา (Trichorderma) และบาซิลลัส (Bacillus) เป็น
                   ต๎น ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในการควบคุมจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อสาเหตุโรคพืช ซึ่งจุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อ
                   สาเหตุโรคพืชมักมีขนาดใหญํกวํารูพรุนของถํานชีวภาพ ท าให๎เข๎าไปอยูํอาศัยไมํได๎  และจะถูกรบกวน
                   โดยการเป็นปรสิตของเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ซึ่งมีขนาดเล็กกวํา (ทิพานันท์ และศิวพร, 2554) จาก
                   การใช๎ถํานแกลบเป็นวัสดุรองรับจุลินทรีย์ ท าให๎มีจุลินทรีย์ที่มีชีวิตในถํานชีวภาพได๎สูงกวําการใช๎ปุ๋ย

                   หมัก และมีชีวิตอยูํได๎นานกวําการใช๎ปุ๋ยหมักเป็นวัสดุรองรับ โดยจุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตสามารถมี
                   ชีวิตอยูํได๎ 300 วัน เชื้อราไตรโคเดอร์มาสามารถมีชีวิตอยูํได๎ 150 วัน (นวลจันทร์ และคณะ, 2561)
                          นอกจากนี้มีรายงานวํา ถํานชีวภาพจะมีสมบัติทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารที่แตกตํางกัน

                   ขึ้นอยูํกับวัสดุเหลือใช๎ทางการเกษตรที่น ามาใช๎เผา เชํน
                              3.1.1 ถํานแกลบ หรือถํานชีวภาพจากแกลบ ภาษาญี่ปุุนเรียกวํา “กุนตัง”  (kuntan) มี
                   การใช๎เป็นวัสดุปรับปรุงดินหรือให๎ธาตุอาหารพืชมาเป็นเวลาหลายร๎อยปีในญี่ปุุน (ประทีป, 2551) ถําน
                   แกลบมีแรํธาตุ 20 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเผาแล๎วสารประกอบอินทรีย์จะเปลี่ยนเป็นคาร์บอนและน้ าส๎มควัน

                   แกลบ ซึ่งกระบวนการเผามีซิลิกา 95 เปอร์เซ็นต์ สํวนใหญํอยูํในรูปที่ละลายน้ าและเป็นประโยชน์ตํอ
                   พืช ซึ่งเป็นวัสดุที่มีประสิทธิภาพที่ให๎ซิลิกาแกํพวกธัญพืชตําง ๆ โดยเฉพาะข๎าวและอ๎อย มีปริมาณ
                   ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ มีคําเทํากับ 0.12  0.10 และ  0.36
                   เปอร์เซ็นต์  ตามล าดับ คําความเป็นกรดเป็นดํางเทํากับ 8.90  (นลินี และคณะ, 2547)  หากน าถําน

                   แกลบมาใช๎เป็นวัสดุเพาะกล๎าจะท าให๎ต๎นกล๎าแข็งแรง การเจริญเติบโตสม่ าเสมอ เชํน แตงกวา แคนตา
                   ลูป มะเขือ แตงโม และกะหล่ าปลี เป็นต๎น ในประเทศอินโดนีเซียชาวสวนนิยมน าถํานแกลบมาใช๎เป็น
                   วัสดุปลูกไม๎ประดับกันอยํางกว๎างขวาง (ทัศนีย์, 2551)
                              3.1.2 ถํานซังข๎าวโพด หรือถํานชีวภาพจากซังข๎าวโพดเป็นวัสดุที่มีพื้นที่ผิวและปริมาตรรู

                   พรุนสูงเทํากับ 56.35 ตารางเมตรตํอกรัม และ 0.0405 ลูกบาศก์เซนติเมตรตํอกรัม สามารถดูดซับธาตุ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21