Page 22 - ผลของการใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการตอบสนองของผลผลิตข้าว และการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             11




                   ศ ึกษาอัตราสํวนของถํานชีวภาพตํอคุณสมบัติทางเคมีของดินปลูก  การเจริญเติบโต  และผลผลิตของผัก

                   สลัดกรีนคอส (Lactuca sativa L. cv. Green Cos) พบวํา จ านวนใบ น ้าหนักสด และน ้าหนักแห๎งของ
                   ต๎นผักสลัดคอสมีแนวโน๎มเพิ่มขึ้นตามอัตราการใสํถํานชีวภาพเพิ่มขึ้น  สํวนรายงานของเจษฎา  และคณะ
                   (2561)  ที่ศ ึกษาผลของถํานชีวภาพจากแกลบและปุ๋ยอินทรีย์ตํอการเจริญเติบโตและผลผลิตของข๎าวโพด
                   หวานที่ปลูกในพื้นที่ดินกรด พบวํา การใสํถํานชีวภาพจากแกลบ อัตรา 1.0 ตันตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยคอก อัตรา

                   1.0  ตันตํอไรํ ท าให๎ข๎าวโพดหวานมีความสูงต๎น  เส๎นผําศูนย์กลางฝัก  น้ าหนักสดตํอฝัก  และผลผลิตรวม
                   สูงสุด (201.94 เซนติเมตร 16.06 เซนติเมตร 432.23 กรัม และ 2,428.00 กิโลกรัมตํอไรํ ตามล าดับ)
                   และในขณะที่รายงานของปรเมศ และคณะ (2558) ซึ่งศึกษาการตอบสนองของพันธุ์ข๎าวเหนียวด า ภายใต๎
                   การจัดการปุ๋ยและถํานชีวภาพที่แตกตํางกันในพื้นที่ดินเค็ม ไมํพบปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหวํางพันธุ์ข๎าวเหนียว

                   ด า การจัดการปุ๋ย และถํานชีวภาพ แตํพบวํา การใสํถํานชีวภาพอัตรา 500 กิโลกรัมตํอไรํ รํวมกับการใสํ
                   ปุ๋ยคอกอัตรา 1,600 กิโลกรัมตํอไรํ สามารถชํวยเพิ่มผลผลิตข๎าวไมํแตกตํางกันทางสถิติกับต ารับการ
                   ทดลองที่มีผลผลิตสูงสุด (668 กรัมตํอ 12.8 ตารางเมตร หรือ 83.5 กิโลกรัมตํอไรํ)  สํวนในรายงานของ
                   เสาวคนธ์ (2561)  ซึ่งศึกษาผลของถํานแกลบในนาข๎าวเคมีและอินทรีย์เคมีตํอการปลดปลํอยก๏าซ  มีเทน

                   การเจริญเติบโต และผลผลิตข๎าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งแบํงพื้นที่ปลูกข๎าว 2 รูปแบบ คือ นาข๎าวเคมี และ
                   นาข๎าวอินทรีย์เคมี  พบวํา ในแปลงข๎าวเคมี การเจริญเติบโตของข๎าวเมื่ออายุ 60 วันหลังปักด า จ านวนต๎น
                   ตํอกอ จ านวนรวงตํอกอ น้ าหนักแห๎งฟางข๎าว และน้ าหนักเมล็ด มีความแตกตํางกันอยํางมีนัยส าคัญทาง

                   สถิติ โดยกรรมวิธีเกษตรกร (ใสํปุ๋ยเคมี 2 ครั้ง) โดยมีจ านวนต๎นตํอกอ และจ านวนรวงตํอกอสูงที่สุด แตํไมํ
                   แตกตํางกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีของเกษตรกรรํวมกับถํานแกลบอัตรา 300 กิโลกรัมตํอไรํ
                   แตํการใสํถํานแกลบอัตรา 300  กิโลกรัมตํอไรํอยํางเดียว ให๎คําน้ าหนักแห๎งเมล็ดข๎าวสูงที่สุด  คือ  150
                   กิโลกรัมตํอไรํ ส าหรับในแปลงข๎าวอินทรีย์เคมี พบวํา ไมํมีความแตกตํางระหวํางกรรมวิธีของจ านวนต๎นตํอ
                   กอ จ านวนรวงตํอกอ และน้ าหนักแห๎งเมล็ด มีเพียงน้ าหนักแห๎งฟางข๎าวซึ่งกรรมวิธีใสํถํานแกลบอยํางเดียว

                   ให๎น้ าหนักแห๎งฟางข๎าวสูงที่สุด 213 กิโลกรัมตํอไรํ อยํางไรก็ตามน้ าหนักแห๎งเมล็ดข๎าวในกรรมวิธีใสํถําน
                   แกลบอยํางเดียวกับกรรมวิธีเกษตรกร (ใสํปุ๋ย 2 ครั้ง) มีคําไมํแตกตํางกัน (424 และ 425 กิโลกรัมตํอไรํ
                   ตามล าดับ)เชํนเดียวกับรายงานของจาวภา  และคณะ (2560)  ที่ศึกษาผลของการใช๎ถํานชีวภาพเป็นวัสดุ

                   ปรับปรุงดินตํอการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของดิน และการเจริญเติบโตของข๎าวนาหวํานน้ าตม โดยใช๎ข๎าว
                   พันธุ์ชัยนาท 1 และปทุมธานี 1 (main plot) การไมํใสํถํานชีวภาพ และใสํถํานชีวภาพจากไม๎ยูคาลิปตัส
                   อัตรา  500  กิโลกรัมตํอไรํ  ปลูกในบํอซีเมนต์ (การทดลองที่ 1) และในกระถาง (การทดลองที่ 2) พบวํา
                   ด๎านการเจริญเติบโตของข๎าว พบการตอบสนองไปในทิศทางเดียวกันทั้งสองการทดลอง โดยการใช๎ถําน

                   ชีวภาพมีผลตํอการเจริญเติบโตของข๎าวในระยะแรก ที่อายุ 30 และ 45 วันหลังหวํานข๎าว โดยข๎าวมีความ
                   สูง จ านวนหนํอตํอต๎น พื้นที่ใบ น้ าหนักแห๎งสํวนเหนือดินสูงกวํากรรมวิธีไมํใสํถํานชีวภาพ แตํไมํมีผลตํอ
                   การเจริญเติบโตในระยะตํอมา แตํพบผลกระทบในด๎านลบของการใสํถํานชีวภาพตํอการพัฒนาของราก
                   ข๎าวพันธุ์ชัยนาท 1 โดยท าให๎การสะสมน้ าหนักแห๎งรากลดลงอยํางมีนัยส าคัญ ที่ระยะ 75 วันหลังปลูก ใน

                   การทดลองที่ 2 ส าหรับพินิจภณ (2557) ศึกษาอัตราการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชไรํ (ปลูกข๎าวฟุาง
                   ข๎าวโพดหวาน ถั่วเหลือง ถั่วลิสง และถั่วเขียว โดยใช๎ถํานชีวภาพจากเศษไม๎โตเร็ว อัตรา 1.6, 3.2 และ 4.8
                   ตันตํอไรํ รํวมกับปุ๋ยหมักและสารสกัดชีวภาพ พบวํา การใช๎ถํานชีวภาพใน 1.6 ตันตํอไรํ รํวมกับการใช๎ปุ๋ย
                   หมักและสารสกัดชีวภาพ  พืชไรํแตํละชนิดมีอัตราการเจริญเติบโต และน้ าหนักหนักผลผลิตสูงกวําการใช๎

                   ถํานชีวภาพ อัตรา 3.2 และ 4.8 ตันตํอไรํ รํวมกับการใช๎ปุ๋ยหมักและสารสกัดชีวภาพ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27